สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เป็นการยกร่างกฎหมายใหม่ โดยการกำหนดให้มีป่าชุมชนขึ้นโดยการดูแลของ คณะกรรมการตรวจสอบป่าชุมชนประจำจังหวัด และคณะกรรมการป่าชุมชนกำหนดให้การทำประโยชน์จากการทำไม้และเก็บของในป่าชุมชนได้รับการ ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้
ผู้เสนอ
๑. นายวิชัย วงศ์ไชย ๒. นายทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์
พรรค พลังธรรม
ผู้รับรอง
๑. นายเสรี พัฒนพันธ์ชัย ๒. นายสมุทร มงคลกิติ
๓. นายอุดมเดช รัตนเสถียร ๔. นายประชา คุณะเกษม
๕. นายสุทิน นพเกตุ ๖. นางสาวอรทัย กาญจนชูศักดิ์
๗. นายบุญเลิศ สว่างกุล ๘. นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง
๙. นายถวิล จันทร์ประสงค์ ๑๐. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง
๑๑. นายกันตธีร์ ศุภมงคล ๑๒. นายพีระพงศ์ สาคริก
๑๓. นางพิมพา จันทร์ประสงค์ ๑๔. นายสุธรรม แสงประทุม
๑๕. นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ ๑๖. พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
๑๗. นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ๑๘. นางสาวศันสนีย์ นาคพงศ์
๑๙. นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธ์ ๒๐. นายจรัส พั้วช่วย

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๙๘/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางบุษกร กสิกร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การบัญญัติให้การทำประโยชน์จากการทำไม้และเก็บของป่าในป่าชุมชน ไม่ต้องเสียค่าภาคหลวง ทำให้รัฐขาดรายรับ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๙๐๔ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๙๗๖ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๒๓/๑๘๕๐๕ ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๓๙
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ อยู่ระหว่างการพิจารณาให้คำรับรอง ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา