สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ โดยที่พระราชบัญญัติควบคุม การประกอบโรคศิลปะ พุทธศักราช ๒๔๗๙ ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน แม้จะมีการแก้ไข เพิ่มเติมหลายครั้ง แต่บทบัญญัติบางประการยังไม่สอดคล้องกับหลักวิชาการและสภาพการณ์ ในปัจจุบัน ประกอบกับได้มีการแยกการประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันสาขาเวชกรรม การประกอบโรคศิลปะแผนปัจจับันสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ การประกอบโรค ศิลปะแผนปัจจุบันสาขาทันตกรรม และการประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันสาขาเภสัชกรรม ไปบัญญัติไว้ในกฎหมายเฉพาะ รวมทั้งสมควรปรับปรุงองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ และจัดให้มีคณะกรรมการวิชาชีพ เพื่อควบคุมการ ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์ไทย การประกอบโรคศิลปะสาขากายภาพบำบัด การ ประกอบสาขาเทคนิคการแพทย์ การประกอบโรคศิลปะสาขาอื่นตามที่กำหนดโดยพระราช กฤษฎีกา เพื่อให้การประกอบโรคศิลปะในสาขาต่าง ๆ ดังกล่าวมีความเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพตลอดจนเพื่อส่งเสริมการประกอบโรคศิลปะในสาขาเหล่านั้นให้มีความเป็นอิสระ และคล่องตัวในการดำเนินงานและเพื่อควบคุมมิให้มีการแสวงหาผลประโยชน์หรือใช้วิชาชีพ โดยมิชอบทำให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการควบคุม การประกอบโรคศิลปะให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
ผู้เสนอ
๑. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ๒. นายทศพร เสรีรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา ๒. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
๓. นายเรวัต สิรินุกุล ๔. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๕. นายชาญชัย ปทุมารักษ์ ๖. นายวาสิต พยัคฆบุตร
๗. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ ๘. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์
๙. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง ๑๐. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
๑๑. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ ๑๒. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
๑๓. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๑๔. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
๑๕. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา ๑๖. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๑๗. นายวีระพล อดิเรกสาร ๑๘. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๑๙. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ๒๐. นายบุญชู ตรีทอง

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๙๗/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางบุษกร กสิกร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบโรคศิลปะโดยกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมใหม่ มีผลทำให้รัฐมีรายรับเพิ่มขึ้น

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๒๖๕ ลงวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๓๓๒ ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๑๘๑๑๙ ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๑
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๙ กันยายน ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๙ กันยายน ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง รับหลักการ ๑๘๖

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกิตติพงษ์ เกิดฤทธิ์ ๒. นายจักริน วงศ์กุลฤดี
๓. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ๔. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๕. นายชวลิต สันติกิจรุ่งเรือง ๖. นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์
๗. นางเตือนใจ นุอุปละ ๘. นายถาวร กาสมสัน
๙. นายทรงยศ ชัยชนะ ๑๐. นายทศพร เสรีรักษ์
๑๑. นายธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ ๑๒. นายประสงค์ บูรณ์พงศ์
๑๓. นายปัญญา จีนาคำ ๑๔. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
๑๕. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ ๑๖. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
๑๗. นางมยุรา อุรเคนทร์ ๑๘. นางสาวรังสิมา รอดรัศมี
๑๙. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล ๒๐. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๒๑. นายวิทยา กฤตลักษณ์กุล ๒๒. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๒๓. นายศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ ๒๔. นายสวัสดิ์ คำวงษา
๒๕. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์ ๒๖. นายอร่าม อามระดิษ
๒๗. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๘๗ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๐๕/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๖/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นางสาวชรินรัตน์  พุทธปวน (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๙๗/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายจาตุรงค์  เพ็งนรพัฒน์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สผ ๐๐๑๗.๑๓/๒๐๙๐      ลงวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๒๖ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๑๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสุชาติ เวณุพุกกะณะ

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( / ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายประสพ รัตนากร ๒. นายวัฒนา รัตนวิจิตร
๓. นายเกษม วัฒนชัย ๔. พลเรือโทจุมพล หงส์ทอง
๕. นายดิลก มหาดำรงค์กุล ๖. นายบุญพฤกษ์ จาฏามระ
๗. นายบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ๘. นายบุญอรรถ สายศร
๙. พลอากาศเอกประกอบ บุรพรัตน์ ๑๐. พลเอกประมณฑ์ ผลาสินธุ์
๑๑. พลเรือเอกพัฒนพงษ์ ศรีเพ็ญ ๑๒. นายไพโรจน์ นิงสานนท์
๑๓. นายวิเชียร อัศว์วิเศษศิวะกุล ๑๔. เรือโทวิทุร แสงสิงแก้ว
๑๕. นายอรุณ เผ่าสวัสดิ์ ๑๖. นายอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๑๗. นายอาซิส เบ็ญหาวัน

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๘๖ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๒๔) ลงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๐๓ ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๒

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๘๕ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๘๕ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๑๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย