สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการควบคุมยาง เนื่องจากพระราชบัญญัติยาง พุทธศักราช ๒๔๘๑ ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันได้ใช้บังคับมานานแล้ว บทบัญญัติต่าง ๆไม่เหมาะสมกับสภาพและ ความต้องการในด้าน การผลิต การค้า การส่งออก การนำเข้า การคัดและจัดชั้นยาง การ ควบคุมมาตรฐานและการบรรจุหีบห่อยาง และเพื่อปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามข้อผูกพันที่ ประเทศไทยมีอยู่ในฐานะสมาชิกขององค์การยางธรรมชาติระหว่างประเทศ ข้อผูกพันตาม สนธิสัญญา รักษาเสถียรภาพของราคายางธรรมชาติ โครงการจัดตั้งตลาดร่วม ของยาง ธรรมชาติของสมาคมประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ โครงการ ควบคุมและร่วมมือเรื่อง มาตรฐานและการค้ายางขององค์การยางธรรมชาติระหว่างประเทศ และสนธิสัญญาว่าด้วย ความร่วมมือ เรื่องยางธรรมชาติแห่งสหประชาชาติ สมควรปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยการ ควบคุมยางเสียใหม่ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๕๒๐๒ ลงวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๙๕/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสุภาวดี ตันตระกูล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมเพื่อขึ้นจากเดิมมีผลทำให้รัฐมีรายรับเพิ่มขึ้น

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๙ กันยายน ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง เอกฉันท์

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกริช กงเพชร ๒. นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์
๓. นายชาญชัย ปทุมารักษ์ ๔. นายชูสิทธิ์ โอภาสวงศ์
๕. นายเด่น โต๊ะมีนา ๖. นายตรีพล เจาะจิตต์
๗. นายทวี สุระบาล ๘. นายประยงค์ รณรงค์
๙. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ๑๐. นายพงศกร อรรณนพพร
๑๑. นายพิทักษ์ ศรีตะบุตร ๑๒. นายไพศาล ยิ่งสมาน
๑๓. นางมุกดา พงษ์สมบัติ ๑๔. นายมุข สุไลมาน
๑๕. นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ ๑๖. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล
๑๗. นายวิเชียร คันฉ่อง ๑๘. นายวินัย เสนเนียม
๑๙. นายวีระพล อดิเรกสาร ๒๐. นายสมชาย สุนทรวัฒน์
๒๑. นายสมพร อัศวเหม ๒๒. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๒๓. นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ ๒๔. นายสุดิน ภูยุทธานนท์
๒๕. นายโสภณ วัชรสินธุ์ ๒๖. นายอนันต์ กาญจนสุวรรณ
๒๗. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๘๙ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๙๕/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๗๗/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายตรีพล  เจาะจิตต์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๕๔๘๐/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๑ ถึง วันพุธที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๓๗ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๐๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นางวัชรี สินธวานุวัฒน์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( / ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายสมพล เกียรติไพบูลย์ ๒. นายสมาน โอภาสวงศ์
๓. นายนิวัฒน์ พ้นชั่ว ๔. นายอดิเรก ศรีประทักษ์
๕. นายวิบูลย์ เข็มเฉลิม ๖. นายทรง องค์ชัยวัฒนะ
๗. นายจริย์ ตุลยานนท์ ๘. นายเถลิง ธำรงนาวาสวัสดิ์
๙. นายทองดี นิคงรัมย์ ๑๐. นายบรม ตันเถียร
๑๑. นายประวิทย์ โรจนเพียรสถิต ๑๒. นายผจญ อุลปาทร
๑๓. นายยงยุทธ เลอลภ ๑๔. นายศิริชัย บูลกุล
๑๕. นายสุจินต์ จินายน ๑๖. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๐๘ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๒๖) ลงวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๐๖ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๐๖ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๙๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย