สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการเลือกตั้ง สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง เป็นส่วนราชการสังกัดรัฐสภา มีฐานะเทียบเท่ากรมและเป็นนิติบุคคลโดยเลขาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งขึ้นตรงต่อประธานรัฐสภา
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๑๔/๑๑๓๖๒ ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๙๔/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิมล กสิบุตร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐต้องจัดสรรเงินแผ่นดินและมีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นใหม่ อันมีผลให้ต้องมี งบประมาณรายจ่ายแผ่นดินเพิ่มขึ้น

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๔ กันยายน ๒๕๓๙
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๔ กันยายน ๒๕๓๙
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกวี สุภธีระ ๒. นายการุณ ใสงาม
๓. นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ ๔. นายชัชวาลย์ ชมภูแดง
๕. นายชัยฤกษ์ ดิษฐอำนาจ ๖. นายชัยวัฒน์ ทรัพย์รวงทอง
๗. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๘. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
๙. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๑๐. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
๑๑. นายถวิล ไพรสณฑ์ ๑๒. นายธงชัย พิมพ์สกุล
๑๓. นายธัญ การวัฒนาศิริกุล ๑๔. นายประทวน เขียวฤทธิ์
๑๕. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๖. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
๑๗. นายพินิจ สิทธิโห ๑๘. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๑๙. นายโภคิน พลกุล ๒๐. นายมานะ คูสกุล
๒๑. นางมาลีรัตน์ แก้วก่า ๒๒. นายวีระวิทย์ วิวัฒนวานิช
๒๓. นายศุภพรพงศ์ ชวนบุญ ๒๔. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๒๕. คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ ๒๖. นายสมรรค ศิริจันทร์
๒๗. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๗๘ ลงวันที่ ๕ กันยายน ๒๕๓๙
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๓๙

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่      ลงวันที่

หมายเหตุ อยู่ระหว่างการพิจารณาของกรรมาธิการวิสามัญระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา