ร่างพระราชบัญญัติ | ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. .... |
หลักการและเหตุผล | ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ เนื่องจากพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.๒๕๑๘
ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน
สมควรปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกิจ สังคม และพัฒนาการด้านแรงงาน
สัมพันธ์ โดยกำหนดถึงหน้าที่และข้อพึงปฏิบัติต่อกันระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง การแต่งตั้ง
หรือเลือกตั้งผู้แทนนายจ้างหรือผู้แทนลูกจ้าง ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
การยุติข้อร้องทุกข์ในกิจการหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการทำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพ
การจ้าง วิธีระงับของพิพาทแรงงาน การปิดงานและการนัดหยุดงาน การจัดตั้งสมาคม
นายจ้าง สหภาพแรงงาน สัมพันธ์นายจ้าง สหพันธ์แรงงาน สภาองค์การนายจ้างแห่งประเทศ
ไทย สภาองค์การลูกจ้างแห่งประเทศไทย และสถาบันแรงงานแห่งประเทศไทย ตลอดจน
ปรับปรุงอัตราโทษให้เหมาะสมกับความผิดยิ่งขึ้น
|
ผู้เสนอ | ๑. นายเอกพร รักความสุข
| ๒. นายฉัตรชัย เอียสกุล
| ๓. นายมนตรี ด่านไพบูลย์
| ๔. นายเจริญ การุญ
| ๕. นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย
| | |
พรรค | ความหวังใหม่ |
ผู้รับรอง | ๑. ว่าที่พันตรี สรชาติ สุวรรณพรหม
| ๒. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์
| ๓. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
| ๔. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
| ๕. นายเจริญ จรรย์โกมล
| ๖. นายสุชาติ ศรีสังข์
| ๗. นายเวียง วรเชษฐ์
| ๘. นายภูมิ สาระผล
| ๙. นายมานพ จรัสดำรงนิตย์
| ๑๐. นายศักดา คงเพชร
| ๑๑. นายประยุทธ นิจพานิชย์
| ๑๒. นายธีระชัย ศิริขันธ์
| ๑๓. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
| ๑๔. นายเฉลิมชัย เอียสกุล
| ๑๕. นายปัญญา จินตะเวช
| ๑๖. นายขจรธน จุดโต
| ๑๗. นายสฤษดิ์ ประดับศรี
| ๑๘. นายอวยชัย สุขรัตน์
| ๑๙. นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์
| ๒๐. นายบุญเกิด หิรัญคำ
| |
|