สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เป็นการกำหนดให้ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกันอย่างแท้จริง เพื่อกำหนดให้ชายและหญิง เมื่อสมรสกันมีสิทธิเลือกใช้ชื่อสกุลตามความประสงค์ได้
ผู้เสนอ
๑. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์
พรรค ชาติพัฒนา
ผู้รับรอง
๑. นายเกียรติ ศรีสุรินทร์ ๒. นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์
๓. นายถวิล ฤกษ์หร่าย ๔. นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี
๕. นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ ๖. นายประสาท ตันประเสริฐ
๗. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๘. นางพวงเพ็ชร ชุนละเอียด
๙. นายประทวน เขียวฤทธิ์ ๑๐. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๑๑. นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม ๑๒. นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ
๑๓. นายปิยะ ปิตุเตชะ ๑๔. นายพงษ์อุดม ตรีสุขี
๑๕. นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ ๑๖. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
๑๗. นายภิญโญ นิโรจน์ ๑๘. นายสกุล ศรีพรหม
๑๙. นายบุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์ ๒๐. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๘๒/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๒
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวมงคลรัตน์ ผลสิริ  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐไม่จำต้องจัดสรรเงินงบประมาณมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๔๒
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ ๒. นางคมคาย พลบุตร
๓. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๔. คุณหญิงจันทนีย์ สันตะบุตร
๕. รองศาสตราจารย์จุรี วิจิตรวาทการ ๖. นางเดือนฉาย คอมันตร์
๗. นางทิพาวดี เมฆสวรรค์ ๘. รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ
๙. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์ ๑๐. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๑๑. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๒. นางผุสดี ตามไท
๑๓. นางพวงเพ็ชร ชุนละเอียด ๑๔. นางเพ็ญพักตร์ ศรีทอง
๑๕. นายมนตรี ด่านไพบูลย์ ๑๖. นางมยุรา อุรเคนทร์
๑๗. ศาสตราจารย์ มารุต บุนนาค ๑๘. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๙. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๒๐. นางศรัณยา ไชยสุต
๒๑. นางสาวสิริพันธ์ พลรบ ๒๒. นายสืบแสง พรหมบุญ
๒๓. คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ ๒๔. นายเสกสรร แสนภูมิ
๒๕. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร ๒๖. พันเอก (พิเศษ) หญิง อัสนีย์ เสาวภาพ
๒๗. นางอำไพวรรณ ตรีสกุล
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๖๙ ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ นางอัญชลี วานิช เทพบุตร เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๘/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นางอัญชลี  วานิช  เทพบุตร (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๘๒/๒๕๔๒ ผู้เสนอ นางสาวธารทอง  ทองสวัสดิ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๘/๒๕๔๒ ผู้เสนอ นางมยุรา  อุรเคนทร์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๑๙๑๑/๒๕๔๓      ลงวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๓

กรณีส่งร่างพระราชบัญญัติให้กรรมาธิการพิจารณาใหม่
  หมายเหตุ ที่ประชุมพิจารณาส่งร่างพระราชบัญญัติให้กรรมาธิการพิจารณาใหม่อีกครั้ง เดิมคณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ วันอังคารที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๓ (มีข้อสังเกต) หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๑๙๑๑/๒๕๔๓ วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๓ บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๓ ที่ประชุมพิจารณา

สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา