สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดเดชอุดม พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ตั้งจังหวัดเดชอุดมขึ้น โดยแยกออกจากจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีอำเภอเดชอุดม อำเภอน้ำยืน อำเภอบุณฑริก อำเภอนาจะหลวยกิ่งอำเภอทุ่งศรีอุดม และกิ่งอำเภอนาเยีย รวมตั้งขึ้นเป็นจังหวัดเดชอุดม
ผู้เสนอ
๑. นายปัญญา จินตะเวช
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. นายวัชรินทร์ ศรีสถาพร ๒. นายสฤษดิ์ ประดับศรี
๓. นายมานพ จรัสดำรงนิตย์ ๔. นายอวยชัย สุขรัตน์
๕. พันโท อรุณ ชาลีรินทร์ ๖. ว่าที่ร้อยเอก สรชาติ สุวรรณพรหม
๗. ร้อยตรี นุกูล ธนิกุล ๘. พลตำรวจเอก บุญชู วังกานนท์
๙. นายอรรถสิทธิ์ ทรัพยสิทธิ์ ๑๐. นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล
๑๑. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์ ๑๒. นางศรีนวล ศรีตรัย
๑๓. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ ๑๔. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
๑๕. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๑๖. นายทศพร มูลศาสตรสาทร
๑๗. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๑๘. นายสังข์ทอง ศรีธเรศ
๑๙. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๒๐. นายสันติ พร้อมพัฒน์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๘๑/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวสุภัตรา วรวุฒิธีรกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การตั้งจังหวัดมีผลให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ และมีการจัดตั้งหน่วยงานอันมีผลให้ต้องมีงบประมาณรายจ่ายเพิ่มขึ้น

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๔๕๕ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๔๙๙ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๒๓/๑๕๘๗๐ ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๓๙
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ อยู่ระหว่างการพิจารณาให้คำรับรอง ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา