สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เนื่องจากพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๑๑ ได้ใช้บังคับมานานประกอบกับสถานการณ์ ปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทำให้ดำเนินการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามหลักการ สหกรณ์และขาดความคล่องตัว บทกำหนดโทษก็ยังไม่เหมาะสม และแก้ไขประกาศของ คณะปฏิวัติให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น
ผู้เสนอ
๑. นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ ๒. นายวัลลภ สุปริยศิลป์
๓. นายประเทือง ปานลักษณ์ ๔. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์
๕. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายชัย ชิดชอบ ๒. นายรณฤทธิชัย คานเขต
๓. นายสฤษฎ์ อึ้งอภินันท์ ๔. นายวาสิต พยัคฆบุตร
๕. นายสนั่น สบายเมือง ๖. พันตำรวจเอก สุทธี คะสุวรรณ
๗. นายประทวน รมยานนท์ ๘. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
๙. นายวัชรินทร์ ฉันทะกุล ๑๐. นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์
๑๑. นายเรวัต สิรินุกุล ๑๒. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล
๑๓. นางพวงเล็ก บุญเชียง ๑๔. นางวาณี หาญสวัสดิ์
๑๕. นายเจริญ จรรย์โกมล ๑๖. พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง
๑๗. นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ ๑๘. นายสำเภา ประจวบเหมาะ
๑๙. นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์ ๒๐. นายเอี่ยม ทองใจสด

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๗๗/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติสหกรณ์และประกาศคณะปฏิวัติให้เหมาะสมกับ สภาพการณ์ปัจจุบัน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๓๘
    ที่ประชุมพิจารณา
    มติ ( ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

หมายเหตุ รอการพิจารณาวาระที่ ๑ ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา