สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล กำหนดควบคุมผู้ค้าน้ำมันเป็น ๓ ระดับ คือ ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ ผู้ค้าน้ำมันรายย่อย และสถานี บริการน้ำมัน และผ่อนคลายมาตรการควบคุมบางอย่างให้เข้มงวดน้อยลง รวมทั้งควบคุม ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ให้เข้มงวดยิ่งขึ้น ปรับปรุงมาตรการบางอย่างให้สามารถคุ้มครอง ผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๘๖๕๑ ลงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๒
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๗๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๒
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิมล กสิบุตร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐไม่ต้องจัดสรรเงินงบประมาณมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๒
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๒
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกรพจน์ อัศวินวิจตร ๒. นายกวี สุภธีระ
๓. นายกุมพล สภาวสุ ๔. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
๕. นายขจิตร ชัยนิคม ๖. พันตำรวจโท เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง
๗. นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย ๘. นายชาญ สุทธิสารากร
๙. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง ๑๐. นายดุสิต อุชุพงศ์อมร
๑๑. นายถวิล ฤกษ์หร่าย ๑๒. นายประกิจ พลเดช
๑๓. นายปิยะ ปิตุเตชะ ๑๔. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ
๑๕. นายพิษณุ พลไวย์ ๑๖. นายไพจิต ศรีวรขาน
๑๗. นางสาวภัทรา สกุลไทย ๑๘. นายเมตตา บันเทิงสุข
๑๙. นายวรพงษ์ อัศวเหม ๒๐. นายวรารักษ์ ชั้นสามารถ
๒๑. นายวราวุธ ศิลปอาชา ๒๒. นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์
๒๓. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ ๒๔. พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ
๒๕. นายสุบรรณ จิระพันธุ์วาณิช ๒๖. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๒๗. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๖๒ ลงวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๒
  กำหนดแปรญัตติ ๑๔ วัน สิ้นสุดวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๘๒๙/๒๕๔๓      ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๓๒๐ ลงวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๓

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๓/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๔
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๑๙/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๓
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) s๐๐๙/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๓
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๓
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๑ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. ม.ร.ว.กำลูนเทพ เทวกุล ๒. นายคำนวณ เหมาะประสิทธิ์
๓. นายชิต เจริญประเสริฐ ๔. นายดุสิต อุชุพงศ์อมร
๕. นายถาวร เกียรติไชยากร ๖. นายบุญยืน ศุภสารสาทร
๗. นายประศักดิ์ ณ กาฬสินธุ์ ๘. นายประสงค์ โฆษิตานนท์
๙. นางพรหมจารี รัตนเศรษฐ์ ๑๐. นายพากเพียร วิริยะพันธุ์
๑๑. นางสาวภัทรา สกุลไทย ๑๒. นายเมตตา บันเทิงสุข
๑๓. นายรส มะลิผล ๑๔. นายวรารักษ์ ชั้นสามารถ
๑๕. นายวิเชียร เปาอินทร์ ๑๖. นายวิโรจน์ อมตกุลชัย
๑๗. นายศิลป์ชัย เชษฐศิลป์ (นุ้ยปรี) ๑๘. นายสม ต๊ะยศ
๑๙. นายอมร นิลเปรม ๒๐. นายอาคม ตุลาดิลก
๒๑. นายอุดร ตันติสุนทร

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๒๑๗๑ ลงวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๓
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๓

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๒๑) ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๓

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๓
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๑๗ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๓

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๑๗ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๓
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๓๖๑/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๓
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๓  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย