สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เป็นการยกร่างกฎหมายขึ้นใหม่โดยให้ยกฐานะของมหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรม ราชูปถัมภ์ ขึ้นเป็นมหาวิทยาลัย เป็นนิติบุคคลอยู่ในความควบคุมของมหาเถรสมาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและขยายการศึกษาเกี่ยวกับศาสนา วิจัย ส่งเสริมและให้ บริการทางวิชาการพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไป รวมทั้ง การทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ผู้เสนอ
๑. นายไพจิต ศรีวรขาน
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. นายมานพ จรัสดำรงนิตย์ ๒. นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์
๓. นายประยุทธ นิจพานิชย์ ๔. นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย
๕. นายจาตุรนต์ ฉายแสง ๖. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
๗. นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ ๘. นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล
๙. พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ ๑๐. นายสันติ พร้อมพัฒน์
๑๑. นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ๑๒. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
๑๓. นายบุญชง วีสมหมาย ๑๔. พลตำรวจเอก บุญชู วังกานนท์
๑๕. นายขจิตร ชัยนิคม ๑๖. นางศรีนวล ศรีตรัย
๑๗. นายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ ๑๘. นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์
๑๙. นายปัญญา จินตะเวช ๒๐. พันโท อรุณ ชาลีรินทร์
๒๑. นายไพฑูรย์ แก้วทอง

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๗๒/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวมงคลรัตน์ ผลสิริ  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้รายได้ของมหาวิทยาลัยมาจากเงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรรให้เป็น รายปีและกำหนดให้รายได้ของมหาวิทยาลัยไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลัง ตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคับและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ มีผลให้รัฐต้อง จัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาเพื่อดำเนินการและทำให้รัฐขาดรายรับ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๗๘๗ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๒๓/๑๓๖๑๓ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๙
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๙
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๙
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. พันจ่าอากาศโทกิตติคุณ นาคะบุตร ๒. ร้อยโทกุเทพ ใสกระจ่าง
๓. นายจำนงค์ ทองประเสริฐ ๔. นายชัย ชิดชอบ
๕. ร้อยตำรวจโทเชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ ๖. นายดุสิต โสภิตชา
๗. นายถวัลย์ ทองมี ๘. นายถาวร กาสมสัน
๙. พันตำรวจเอกทิน วงศ์ปลั่ง ๑๐. นายบวร ภูจริต
๑๑. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก ๑๒. นายประวิช รัตนเพียร
๑๓. นายพา อักษรเสือ ๑๔. นางสาวพวงเพชร สารคุณ
๑๕. นายไพจิต ศรีวรขาน ๑๖. นายมานะ แพรสกุล
๑๗. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล ๑๘. นางมาลีรัตน์ แก้วก่า
๑๙. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล ๒๐. นายวิชัย วงศ์ไชย
๒๑. นายสนิท จันทรวงศ์ ๒๒. นายสนิท ศรีสำแดง
๒๓. นายสมพงษ์ สู่ศุภอรรถ ๒๔. นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์
๒๕. พันตำรวจเอกสุทธี คะสุวรรณ ๒๖. นายสุทัศน์ ทิวทอง
๒๗. นายอำนวย สุวรรณคีรี
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๑๐ ลงวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๓๙
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๙

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๖๒/๒๕๓๙ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๓๙
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๗๔๔/๒๕๓๙      ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๓๙

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หมายเหตุ คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา