สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติโอนอำนาจหน้าที่และกิจการบริหารของสำนักเร่งรัดพัฒนาชนบท กระทรวงมหาดไทย ไปเป็นของกรมเร่งรัดพัฒนาชนบท กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล โอนอำนาจหน้าที่และกิจการบริหารของสำนักเร่งรัดพัฒนาชนบท กระทรวงมหาดไทย ไปเป็นของกรมเร่งรัดพัฒนาชนบท กระทรวงมหาดไทย
ผู้เสนอ
๑. นายนิยม วรปัญญา ๒. พันตำรวจเอก สุทธี คะสุวรรณ
๓. นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ ๔. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
๕. นายวัชรินทร์ ฉันทะกุล
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายเจริญ จรรย์โกมล ๒. นายเรวัต สิรินุกุล
๓. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ๔. นางพวงเล็ก บุญเชียง
๕. นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ ๖. นายสนั่น สบายเมือง
๗. นายวัลลภ สุปริยศิลป์ ๘. พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง
๙. พันตำรวจเอก สุทธี คะสุวรรณ ๑๐. นายจองชัย เที่ยงธรรม
๑๑. นายสกุล ศรีพรหม ๑๒. นายชัยศักดิ์ ทะไกรราช
๑๓. นายสมพร อัศวเหม ๑๔. นายไพโรจน์ เครือรัตน์
๑๕. นายดุสิต รังคสิริ ๑๖. นายธานี ยี่สาร
๑๗. นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์ ๑๘. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๑๙. นายเอี่ยม ทองใจสด ๒๐. นายสง่า ธนสงวนวงศ์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๖๑/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวมงคลรัตน์ ผลสิริ  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล ทำให้รัฐต้องโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๑๙๐๐ ลงวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๑๘๔๗ ลงวันที่ ๕ กันยายน ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๒/๑๘๘๐๕ ลงวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๓๘
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ อยู่ระหว่างการพิจารณาให้คำรับรอง ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙มีผลทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา