สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืช ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมโดยพื้นฐาน มีประชาชนจำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับภาคเกษตรกรรม การพัฒนาระบบการเกษตรให้มี ประสิทธิภาพ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน จะทำให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้น พันธุ์พืชนับ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของการพัฒนาระบบเกษตร จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำให้เกิดความ หลากหลายของพันธุ์พืชโดยการส่งเสริมหรือสร้างแรงจูงใจให้นักปรับปรุงพันธุ์พืช วิจัยและ พัฒนาพันธุ์พืชใหม่ โดยอยู่ภายใต้หลักการความปลอดภัยทางชีวภาพ ความมั่นคงทางอาหาร ในขณะเดียวกันจะต้องส่งเสริมการอนุรักษ์พันธุ์พืชดั่งเดิม คำนึงถึงสิทธิของเกษตรกร และ เพื่อให้สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
ผู้เสนอ
๑. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา ๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายวาสิต พยัคฆบุตร ๒. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๓. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ ๔. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา
๕. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ๖. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๗. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๘. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๙. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ ๑๐. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๑๑. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์ ๑๒. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
๑๓. นางสาวพูนสุข โลหะโชติ ๑๔. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
๑๕. นายบุญชู ตรีทอง ๑๖. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
๑๗. นายนิยม วรปัญญา ๑๘. นายเรวัต สิรินุกุล
๑๙. นายวีระพล อดิเรกสาร ๒๐. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๖๐/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายเสกสรร เพ็ญจันทร์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้รายได้ของกองทุนพัฒนาพันธุ์พืชส่วนหนึ่งมากจากเงินอุดหนุนจาก รัฐบาลและการกำหนดให้เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืช ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ มีผลให้รัฐขาดรายรับในส่วนนี้

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๒๗๔ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๒๔๙ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๑๕๖๘๖ ลงวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๑๘๕๕ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง เอกฉันท์

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางกรุณา ชิดชอบ ๒. นายเจริญ จรรย์โกมล
๓. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๔. นายทวีศักดิ์ สุภาศรี
๕. นายทศพร มูลศาสตรสาทร ๖. นายกมล บันไดเพชร
๗. นายเนวิน ชิดชอบ ๘. นายประกิจ พลเดช
๙. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา ๑๐. นายปรีชา มุสิกุล
๑๑. นายพงษ์พันธุ์ นุตราวงศ์ ๑๒. นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ
๑๓. นายไพร พัฒโน ๑๔. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๕. นายยงยุทธ ติยะไพรัช ๑๖. ร้อยตรี วัฒนา แก้วศิริ
๑๗. นายวัฒนา เมืองสุข ๑๘. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๑๙. รองศาสตราจารย์วิชัย สุทธิมูล ๒๐. นายวิชา ธิติประเสริฐ
๒๑. นายวิเชียร เพชรพิศิษฐ์ ๒๒. นายวิทยา แก้วภราดัย
๒๓. นายสมศักดิ์ ฎาราณุท ๒๔. ว่าที่พันตรี สรชาติ สุวรรณพรหม
๒๕. นายสืบแสง พรหมบุญ ๒๖. นายสุวโรช พะลัง
๒๗. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๘ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๓/๒๕๔๒ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๑/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายชัย  ชิดชอบ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๕/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายประกิจ  พลเดช (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๖๐/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายประเทือง  วิจารณ์ปรีชา (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๖๙/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายสืบแสง  พรหมบุญ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๔๘๒๐/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๔๓๒ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๕๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๑๒๙/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๖๒/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสราวุธ สุธราพันธ์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๖ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกิรินทร์ ชัชวาลวงศ์ ๒. นายเกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
๓. นายเถลิง ธำรงนาวาสวัสดิ์ ๔. นายทองดี นิคงรัมย์
๕. นายทวีศักดิ์ เสสะเวช ๖. นายนิวัฒน์ พ้นชั่ว
๗. นายเนวิน ชิดชอบ ๘. นายบรม ตันเถียร
๙. นายพงษ์พันธุ์ นุตราวงศ์ ๑๐. นายพิสิษฐ์ ณ พัทลุง
๑๑. พลเอก ไพบูลย์ เอมพันธุ์ ๑๒. นายไพศาล พืชมงคล
๑๓. นายวิชา ธิติประเสริฐ ๑๔. นายวิเชียร เพชรพิสิฐ
๑๕. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ ๑๖. นางสาวศรีสว่าง พั่ววงศ์แพทย์
๑๗. นายสมพล เกียรติไพบูลย์ ๑๘. นายสมศักดิ์ ฎาราณุท
๑๙. นายสมหมาย สุรกุล ๒๐. นางสุกัญญา ชลศึกษ์
๒๑. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย ๒๒. นายสุจินต์ จินนายน
๒๓. นายสุชน ชาลีเครือ ๒๔. นายสุธรรม วิชชุไตรภพ
๒๕. นางอรนุช โอสถานนท์ ๒๖. นายอำนาจ สอนอิ่มสาตร์

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๒๑๖๕ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/ (ร ๑๓๐) ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๕๑๕ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๒๑ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๒๑ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๓๖๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย