สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล กำหนดวิธีการในการพิจารณาคำร้องขอปล่อยชั่วคราวและไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว การเรียกประกันและหลักประกันให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระบวนการยุติธรรมร่วมกัน กำหนดขึ้น ยกเลิกความในมาตรา ๑๐๗ มาตรา ๑๐๘ มาตรา ๑๑๐ มาตรา ๑๖๙ แห่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กล่าวคือ เพื่อป้องกันการหลบหนี ความเสียหาย จากการอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว เจ้าพนักงานศาลหรือศาลจะกำหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับที่อยู่ ของผู้ถูกปล่อยชั่วคราวได้ กำหนดหลักเกณฑ์คำสั่งเจ้าพนักงานหรือศาลในการออกคำสั่งไม่ ให้ปล่อยชั่วคราว และต้องแจ้งเหตุให้ผู้ยื่นคำร้องเขียนหนังสือทราบโดยเร็ว ในกรณีต้องมี หลักประกันหรือหลักประกันจะเรียกเกินแก่กรณีมิได้ ในกรณีที่มีการปล่อยชั่วคราว โดยมี การวางเงินสดหรือหลักทรัพย์ประกัน หากผู้ต้องหาหรือจำเลยจะขอปล่อยชั่วคราวต่อไปต้อง ยื่นคำร้องต่อพนักงานอัยการหรือศาลโดยถือเอาทรัพย์สินดังกล่าวเป็นหลักประกันต่อไปได้ ถ้าจำเลยไม่มีทนายความและประสงค์จะได้รับความช่วยเหลือก็ให้ศาลตั้งทนายให้ ซึ่งตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากำหนดให้ศาลจ่ายเงินรางวัลให้แก่ทนายที่ศาลสั่ง
ผู้เสนอ
๑. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๒. นายสามารถ แก้วมีชัย
๓. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์
พรรค ไทยรักไทย
ผู้รับรอง
๑. นายวิทยา บุรณศิริ ๒. นายปกรณ์ บูรณุปกรณ์
๓. นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล ๔. นายปกิต พัฒนกุล
๕. นายสงวน พงษ์มณี ๖. นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ
๗. นางสาวตรีนุช เทียนทอง ๘. นางมยุรา มนะสิการ
๙. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๐. นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ
๑๑. นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี ๑๒. นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย
๑๓. นายวิทยา ทรงคำ ๑๔. นายลิขิต ธีรเวคิน
๑๕. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์ ๑๖. นายเกรียงไกร ไชยมงคล
๑๗. นายสุชาย ศรีสุรพล ๑๘. นายทองหล่อ พลโคตร
๑๙. นายสฤต สันติเมทนีดล ๒๐. นายชลน่าน ศรีแก้ว

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๕
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๕๙/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๕
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางดวงใจ นิไชยโยค  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้ศาลต้องจัดหาทนายความให้แก่จำเลยที่ไม่มีทนายความและศาลต้องจ่ายเงิน รางวัลให้ทนายที่ศาลตั้ง ทำให้รัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๔๕๘ ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๕
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ๕๔๕๘ ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๕
                 ( ) คัดค้าน    ( / ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๘๕๓ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๕
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๒๑๖๔๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๕
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๔๕
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๔๕
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร ๒. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓. หม่อมหลวงไกรฤกษ์ เกษมสันต์ ๔. นายจาตุรนต์ ฉายแสง
๕. นายจำรัส เวียงสงค์ ๖. นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ
๗. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์ ๘. นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล
๙. นายถาวร เสนเนียม ๑๐. นายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์
๑๑. รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ ๑๒. นายธีระยุทธ วานิชชัง
๑๓. นายนิติรัฐ คำสิงห์นอก ๑๔. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๑๕. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๑๖. นายนิรัตน์ จันทพัฒน์
๑๗. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ ๑๘. นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์
๑๙. นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ ๒๐. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๒๑. นายพูลศักดิ์ อยู่ประเสริฐ ๒๒. นายภูมิ สาระผล
๒๓. นายวัชรินทร์ ภาณุรัตน์ ๒๔. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๒๕. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๒๖. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๒๗. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์ ๒๘. นายศิริ หวังบุญเกิด
๒๙. นายสาธิต ปิตุเตชะ ๓๐. นายสามารถ แก้วมีชัย
๓๑. นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ ๓๒. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๓๓. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์ ๓๔. นายสุรชัย พันธุมาศ
๓๕. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๒๔ ลงวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๔๕
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๕
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๓๕/๒๕๔๕ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๘๗/๒๕๔๔ ผู้เสนอ นายสุรสิทธิ์  นิติวุฒิวรรักษ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๕๗/๒๕๔๕ ผู้เสนอ นายอำนวย  คลังผา (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๕๘/๒๕๔๕ ผู้เสนอ นายวิชิต  ปลั่งศรีสกุล (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๕๙/๒๕๔๕ ผู้เสนอ นายวิชิต  ปลั่งศรีสกุล (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๗๐/๒๕๔๕ ผู้เสนอ นายพีระพันธุ์  สาลีรัฐวิภาค (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๔๖
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๘๗๒/๒๕๔๖      ลงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๔๖

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๖
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๔๖
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๔๖
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๑๑๒๕/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๖

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๔๘/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๖
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๗๖๑/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๖
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๓๑/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๖

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๐๕๗๘ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๐๕๗๘ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๕/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๗  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๒ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายจำรัส เวียงสงค์ ๒. นายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์
๓. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ ๔. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๕. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๖. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๗. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๘. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
๙. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ๑๐. นายสาธิต ปิตุเตชะ
๑๑. นายสามารถ แก้วมีชัย ๑๒. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๔๐๓ ลงวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๔๗
  วุฒิสภารับที่ ลงวันที่

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๑๕ กันยายน ๒๕๔๗  
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๔๔๘๘/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๗

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๑๘๔๘ ลงวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๗

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๐๐๖ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๗

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๒๕๗๓ ลงวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๗
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๒๑ ตอน ๗๙ก หน้าที่ - วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๗ พุทธศักราช ๒๕๔๗

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย