สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ยกเลิกพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. ๒๕๐๕ เนื่องจากไม่เหมาะสมกับ ความเจริญก้าวหน้าของประเทศและปรับปรุงใหม่ให้มีกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ วิศวกรรม โดยจัดตั้งสภาวิศวกรขึ้นทำหน้าที่ควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ให้สภาวิศวกรมีฐานะเป็นนิติบุคคล โดยมีคณะกรรมการสภาวิศวกรบริหารกิจการ วิศวกรรมตามวัตถุประสง3
ผู้เสนอ
๑. นายศิลป์ชัย นุ้ยปรี
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายเรวัต สิรินุกุล ๒. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
๓. นายดุสิต รังคสิริ ๔. นาวาโท เดชา สุขารมณ์
๕. นายสำเภา ประจวบเหมาะ ๖. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๗. พลเอก สนั่น เศวตเศรนี ๘. นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ
๙. นายบุญส่ง สมใจ ๑๐. นายวัลลภ สุปริยศิลป์
๑๑. นายประเทือง ปานลักษณ์ ๑๒. นายเอี่ยม ทองใจสด
๑๓. นายเจริญ จรรย์โกมล ๑๔. นายสนั่น สบายเมือง
๑๕. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร ๑๖. นางวาณี หาญสวัสดิ์
๑๗. นายสมพร อัศวเหม ๑๘. นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์
๑๙. นายเงิน ไชยศิวามงคล ๒๐. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๕๙/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การให้สภาวิศวกรมีรายได้จากเงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดินมีผลให้รัฐต้อง จัดสรรงบประมาณ และการให้บรรลูกจ้างของ กว.ไปเป็นลูกจ้างของสภาวิศวกร ทำให้รัฐต้องโอนงบประมาณรายจ่าย

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๘๔๓ ลงวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๘๕๓ ลงวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ อยู่ระหว่างการพิจารณาให้คำรับรอง ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา