สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายเพื่อจัดตั้งหน่วยงานในการจัดทำบริการสาธารณะโดยมีรูปแบบขององค์การที่ แตกต่างไปจากส่วนราชการที่รัฐวิสาหกิจเพื่อความคล่องตัวและเป็นลักษณะรวมศูนย์ในการ ดำเนินการ
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๘๐๓๖ ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๕๘/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางบุษกร กสิกร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล หากว่าร่างพระราชบัญญัตินี้มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย แม้จะมิได้เป็นการจัดตั้งองค์การ มหาชนเป็นเพียงกำหนดรูปแบบและวิธีการจัดตั้งก็ตาม แต่เมื่อเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจรัฐ ต้องตั้งองค์การขึ้นใหม่โดยรัฐต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินมาเป็นเงินทุนประเดิมและเงิน อุดหนุนรายปีให้แก่องค์การมหาชนให้แก่องค์การมหาชนอีกทั้งองค์การมหาชนบางองค์การ ยังอาจไม่ต้องนำส่งรายได้เข้ากระทรวงการคลัง ทำให้รัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณของ แผ่นดินมาเพื่อดำเนินการและทำให้รัฐอาจขาดรายรับ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นายขจิตร ชัยนิคม
๓. นายชาญชัย แสวงศักดิ์ ๔. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๕. นายเด่น โต๊ะมีนา ๖. นายทิวา เงินยวง
๗. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๘. นายธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์
๙. นายประสพ บุษราคัม ๑๐. นายประสาท ตันประเสริฐ
๑๑. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ๑๒. นายปรีชา สุวรรณทัต
๑๓. นายปาน พึ่งสุจริต ๑๔. นายมานะ มหาสุวีระชัย
๑๕. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๑๖. นายวันชัย ตันติสุข
๑๗. นายวิทยา แก้วภราดัย ๑๘. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง
๑๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒๐. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๒๑. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ ๒๒. นายสาคร พรหมภักดี
๒๓. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๒๔. รองศาสตราจารย์สุรพล นิติไกรพจน์
๒๕. นายอดิศร เพียงเกษ ๒๖. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๒๗. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๓๘ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ ๑๕ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๔๗๘๙/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๓๓๕ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๓๒/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๓๔๕/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๓๖/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๑
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสุชาติ เวณุพุกกะณะ

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๕ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายชาญชัย แสวงศักดิ์
๓. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๔. นายดุสิต ศิริวรรณ
๕. นางทักษิณา สวนานนท์ ๖. นายธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์
๗. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ๘. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
๙. พลเอก บุญศักดิ์ กำแหงฤทธิรงค์ ๑๐. นายพินิต อารยะศิริ
๑๑. นายพูนศักดิ์ วรรณพงษ์ ๑๒. นายไพบูลย์ ช่างเรียน
๑๓. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๑๔. นายไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล
๑๕. นายมนัส สุขสมาน ๑๖. นายวรรณไว พัธโนทัย
๑๗. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร ๑๘. นายวิจิตร ศรีสอ้าน
๑๙. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ ๒๐. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์
๒๑. นายสุรพล นิติไกรพจน์ ๒๒. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๒๓. นายอมร จันทรสมบูรณ์ ๒๔. นายอารีย์ วงศ์อารยะ
๒๕. นายอุดล บุญประกอบ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๒๓๒๕ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร๑๐๒) ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๑
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๘๙๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๑

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๙๐ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๑

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๙๐ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๑
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๔๓๔/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๑
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๑  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย