สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๗ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ...
หลักการและเหตุผล เป็นการยกร่างกฎหมายขึ้นใหม่เพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ กำหนดหลักเกณฑ์การเปิดเผย จัดทำหรือเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารของราชการ และคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่อยู่ในความครอบครองดูแลของราชการ
ผู้เสนอ
๑. นายสุทิน นพเกตุ ๒. นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธ์
๓. นายอุดมศิลป์ ศรีแสงนาม ๔. นายอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
พรรค พลังธรรม
ผู้รับรอง
๑. นายเดชา สามารถ ๒. นายสมุทร มงคลกิติ
๓. นางเครือวัลย์ สมณะ ๔. นายสุธน ชื่นสมจิตต์
๕. นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ๖. นายธเนศร์ พรพิพัฒน์พงศ์
๗. นายแสวง ฤกษ์จรัล ๘. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๙. นายอุดมเดช รัตนเสถียร ๑๐. นางพิมพา จันทร์ประสงค์
๑๑. นายสุธา ชันแสง ๑๒. นายวิทยา วิเศษรัตน์
๑๓. นายกระแส ชนะวงศ์ ๑๔. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๑๕. นายสุเทพ อัตถากร ๑๖. นายถวิล จันทร์ประสงค์
๑๗. นายเกษม บุตรขุนทอง ๑๘. พันเอก ชินวุธ สุนทรสีมะ
๑๙. นายจรัส พั้วช่วย ๒๐. นายประพันธ์ หุตะสิงห์
๒๑. นายปัญญา สุดสวงค์ ๒๒. พันเอก วินัย สมพงษ์
๒๓. พลเรือเอก ดิลก ภัทรโกศล

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๓๕
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๕๖/๒๕๓๕ ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๓๕
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ ตกไปเนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกาให้ยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2535
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา