สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้โรงเรียนอาชีวศึกษาของเอกชน ขยายหลักสูตรเปิดสอนได้จนถึงระดับเทียบเท่า อนุปริญญาตรีหรือปริญญาตรี
ผู้เสนอ
๑. นายนิยม วรปัญญา ๒. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายวิทยา คุณปลื้ม ๒. นายสนธยา คุณปลื้ม
๓. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง ๔. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๕. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๖. นายบุญชู ตรีทอง
๗. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ ๘. นาวาโท เดชา สุขารมณ์
๙. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๑๐. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
๑๑. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา ๑๒. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๑๓. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช ๑๔. นายจองชัย เที่ยงธรรม
๑๕. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ๑๖. นายวีระพล อดิเรกสาร
๑๗. นายทศพร เสรีรักษ์ ๑๘. นางสาวพูนสุข โลหะโชติ
๑๙. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ๒๐. นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๒
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๕๓/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๔๒
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายเสกสรร เพ็ญจันทร์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐไม่ต้องจัดสรรเงินงบประมาณมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๒
    ที่ประชุมพิจารณา
    มติ ( ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา