สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๗ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ การพิมพ์ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เป็นการปรับปรุงกฎหมายการพิมพ์เพื่อให้สอดคล้องกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และให้ผู้ประกอบวิชาชีพหนังสือพิมพ์มีอิสระและสามารถควบคุมกันเอง ให้มีสภาการหนังสือพิมพ์เป็นนิติบุคคล มีคณะกรรมการสภาการหนังสือและคณะกรรมการจรรยาบรรณหนังสือพิมพ์
ผู้เสนอ
๑. นายสุทิน นพเกตุ ๒. นายอุดมศิลป์ ศรีแสงนาม
๓. นายอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ๔. นายจรัส พั้วช่วย
พรรค พลังธรรม
ผู้รับรอง
๑. นายสมุทร มงคลกิติ ๒. พันเอก วินัย สมพงษ์
๓. นางเครือวัลย์ สมณะ ๔. นายทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์
๕. นายเรืองวิทย์ ดุษฎีสุรพจน์ ๖. นายวิทยา วิเศษรัตน์
๗. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ ๘. นายแสวง ฤกษ์จรัล
๙. นายปัญญา สุดสวงค์ ๑๐. นายประพันธ์ หุตะสิงห์
๑๑. พลเรือเอก ดิลก ภัทรโกศล ๑๒. นายถวิล ไพรสณฑ์
๑๓. พันเอก ชินวุธ สุนทรสีมะ ๑๔. นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
๑๕. พลเรือตรี โรช วิภัติภูมิประเทศ ๑๖. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๑๗. พลตรี ฤกษ์ดี ชาติอุทิศ ๑๘. นายกระแส ชนะวงศ์
๑๙. นายสุเทพ อัตถากร ๒๐. นายเกษม บุตรขุนทอง
๒๑. นายสมพัฒน์ กัลยาวินัย ๒๒. นายเสริม หลักสุวรรณ
๒๓. นายสุธน ชื่นสมจิตต์ ๒๔. นายธเนศร์ พรพิพัฒน์พงศ์
๒๕. นายธำรงค์ แสงสุริยจันทร์ ๒๖. นายเธียร มโนหรทัต
๒๗. นายเดชา สามารถ ๒๘. นางสาวกุสุมา ศรสุวรรณ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๓๕
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๕๐/๒๕๓๕ ลงวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๓๕
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รายได้ของสภาการหนังสือพิมพ์ ไม่มีผลกระทบกับงบประมาณของรัฐ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาของร่างฯ รอบรรจุเข้าระเบียบวาระเพื่อพิจารณาในวาระที่ ๑ (สภาผู้แทนราษฎร)