สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล สมควรมีกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 312 ได้บัญญัติให้คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ทำการตรวจเงินแผ่นดิน มีหน่วยธุรการซึ่งมีผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินเป็น ผู้บังคับบัญชา ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงิน แผ่นดิน เพื่อกำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ตามมาตรา 333 ของรัฐธรรมนูญ
ผู้เสนอ
๑. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายวิทยา คุณปลื้ม ๒. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
๓. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๔. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
๕. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ ๖. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ
๗. นายชาญชัย ปทุมารักษ์ ๘. นายเรวัต สิรินุกุล
๙. นายวาสิต พยัคฆบุตร ๑๐. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๑๑. นายทศพร เสรีรักษ์ ๑๒. นายวีระพล อดิเรกสาร
๑๓. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ๑๔. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์
๑๕. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๑๖. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
๑๗. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ๑๘. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๑๙. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ ๒๐. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๔๙/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวมงคลรัตน์ ผลสิริ  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน มีรายได้จากค่าธรรมเนียม และจากทรัพย์สินที่มี ผู้อุทิศให้ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ อีกทั้งให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้ ข้าราชการ ลูกจ้าง และเงินงบประมาณของ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินไปเป็นของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินตามพระราชบัญญัตินี้ มีผล ให้รัฐต้องจัดสรรและโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาเพื่อดำเนินการ และทำให้รัฐขาดรายรับ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๙๗๕ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๙๙๐ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๑๔๙๐๓ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๓๙๙๔ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๐๐๐๘/๔๙๗๕ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๒
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย
๓. นายชัย ชิดชอบ ๔. นายถวิล ฤกษ์หร่าย
๕. นายทิวา เงินยวง ๖. นายนนทพล นิ่มสมบุญ
๗. นายนิพนธ์ ฮะกีมี ๘. นายบุญชู โรจนเสถียร
๙. นายประกอบ จิรกิติ ๑๐. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๑๑. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๒. นายปรีชา สุวรรณทัต
๑๓. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๑๔. นายมานะ มหาสุวีระชัย
๑๕. ศาสตราจารย์ มารุต บุนนาค ๑๖. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๑๗. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ ๑๘. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย
๑๙. ว่าที่พันตรี สรชาติ สุวรรณพรหม ๒๐. นายสุชาติ ศรีวรกร
๒๑. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๒๒. รองศาสตราจารย์สุนทร มณีสวัสดิ์
๒๓. นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ ๒๔. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๒๕. รองศาสตราจารย์อรพิน ผลสุวรรณ์ สบายรูป ๒๖. นายอำนวย สุวรรณคีรี
๒๗. นายอำนาจ ชนะวงศ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๕๔ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๒๗/๒๕๔๒ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๔๙/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายประยุทธ์  ศิริพานิชย์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๑๙/๒๕๔๑ ผู้เสนอ ร้อยโท กุเทพ  ใสกระจ่าง (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๙๕๔/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๑๖๘ ลงวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๕๔/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๑๒๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๖๐/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสุชาติ เวณุพุกกะณะ

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๕ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ ๒. นายชัยเชต สุนทรพิพิธ
๓. นายโชคชัย อักษรนันท์ ๔. นายณรงค์ชัย อัครเศรณี
๕. นายทวี หนุนภักดี ๖. นายนนทพล นิ่มสมบุญ
๗. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๘. นายบดี จุณณานนท์
๙. นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ๑๐. นายบุญชู โรจนเสถียร
๑๑. นายปรีชา สุวรรณทัต ๑๒. นายปิยะบุตร ชลวิจารณ์
๑๓. นายพชร ยุติธรรมดำรง ๑๔. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๑๕. นายไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล ๑๖. นายวิจิตร สุพินิจ
๑๗. นายสมชัย วุฑฒิปรีชา ๑๘. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย
๑๙. นายสุนทร เสถียรไทย ๒๐. พลเรือเอก สุรวุฒิ มหารมณ์
๒๑. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๒. นางอรนุช โอสถานนท์
๒๓. นายอรัญ ธรรมโน ๒๔. นางอรัญญา สุจนิล
๒๕. นายอุดล บุญประกอบ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๒๑๐๐ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๑๓๑) ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๒๑ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๒๑ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๓๖๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย