สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ เนื่องจากพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๑๑ ได้ใช้บังคับมานานไม่ เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันที่ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทำให้การดำเนินการตามพระราช- บัญญัติฉบับดังกล่าวไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามหลักการ สหกรณ์ สมควรปรับปรุงให้สหกรณ์และตัวแทน ของสหกรณ์ได้เข้ามา มีบทบาทในการดำเนินกิจการสหกรณ์ได้มากขึ้น
ผู้เสนอ
๑. นายบุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์ ๒. นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์
พรรค ชาติพัฒนา
ผู้รับรอง
๑. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์ ๒. นายพงศกร อรรณนพพร
๓. นางรัตนา จงสุทธนามณี ๔. นายสวัสดิ์ คำวงษา
๕. นายถวิล ฤกษ์หร่าย ๖. นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ
๗. นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ ๘. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย
๙. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๑๐. นางปวีณา หงสกุล
๑๑. นายวัลลภ สุปริยศิลป์ ๑๒. นายประทวน เขียวฤทธิ์
๑๓. นายทวีศักดิ์ สุภาศรี ๑๔. นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี
๑๕. นายประสาท ตันประเสริฐ ๑๖. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๑๗. นายสกุล ศรีพรหม ๑๘. นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์
๑๙. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๒๐. นายพงษ์อุดม ตรีสุขี

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๔๕/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายธวัช ขันธวิทย์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการปรับปรุงกฎหมายให้เหมาะสมและเพื่อปรับปรุงรูปแบบของกฎหมายให้ผ่านขบวนการรัฐสภา เพราะกฎหมายเดิมบางส่วนอยู่ในรูปแบบของ คณะปฏิวัติ และให้สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยมี รายได้จากเงินอุดหนุน ของรัฐบาลซึ่งอยู่ในกฎหมายฉบับปัจจุบันแล้ว

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๒. นายชาญ สุทธิสารากร
๓. นายณรงค์ ชูประกอบ ๔. นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์
๕. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๖. นายประกอบ วิเชียร
๗. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา ๘. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๙. นายประวัติ ทองสมบูรณ์ ๑๐. นายปรีชา สุวรรณทัต
๑๑. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๑๒. นางสาวพีรรัตน์ อังกุรรัต
๑๓. นายไพจิต ศรีวรขาน ๑๔. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์
๑๕. นายวิทยา สุขิตานนท์ ๑๖. นายวินัย เสนเนียม
๑๗. นายวิเศษ ใจใหญ่ ๑๘. นายสมคิด สิงสง
๑๙. นายสมพงษ์ ถีรวงศ์ ๒๐. นายสวัสดิ์ คำวงษา
๒๑. นายสุพล ฟองงาม ๒๒. นายสุวโรช พะลัง
๒๓. นายเสกสรร แสนภูมิ ๒๔. นายอดิศร เพียงเกษ
๒๕. นายอวยชัย วะทา ๒๖. นายอาคม เอ่งฉ้วน
๒๗. นายอุบลศักดิ์ บัวหลวงงาม
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๔๑ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ ๑๕ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๐
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๕๘/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๔๕/๒๕๓๙ ผู้เสนอ นายบุญช่วย  ภู่จีนาพันธุ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๕/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายประเทือง  วิจารณ์ปรีชา (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๗/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายวินัย  เสนเนียม (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๓๔/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายเปรมศักดิ์  เพียยุระ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๗๘๙/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๘๒๘๐ ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๑

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๐๔๖ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๗/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๑๐๒/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๗/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๑
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๔๑
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสุชาติ เวณุพุกกะณะ

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันจันทร์ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันจันทร์ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( / ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๐ คน
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๗๓๙ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๑
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๙/(ร ๔๓) ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๖๖๓ ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๑

  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๗๙๔ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๑

กรณีวุฒิสภาเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๗๙๔ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๑
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๙๐/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  แจ้งที่ประชุมทราบ :vmehp
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ตอน หน้าที่ วันที่ พุทธศักราช

กรณีวุฒิสภาไม่เห็นชอบด้วยตามรัฐธรรมนูญ หรือสภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วยตามรัฐธรรมนุญ ก็ให้ยับยั้ง ร่างพระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน เมื่อเวลา 180 วันได้ล่วงพ้นไป หรือร่างพระราชบัญญัติที่ยับยั้งไว้เป็นร่าง พระราชบัญญัติ เกี่ยวด้วยการเงิน สภาผู้แทนราษฎรสามารถยกขึ้นพิจารณาใหม่ได้ทันที
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / :vsbmahtr :vslmahtr ลงวันที่ี่ :vsdmahtr
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ :vhdno ลงวันที่ :vhddt
  สภาผู้แทนราษฎรยกขึ้นพิจารณาใหม่โดย  
    () ประธานขอปรึกษาที่ประชุม
() สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอญัตติ
 
  บรรจุระเบียบวาระ :vagnh  
  ที่ประชุมพิจารณา :vmenh  

  มติ () สภาผู้แทนราษฏร ยืนยันร่างฯ เดิม ด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง
() สภาผู้แทนราษฎร ยืนยันร่างฯ เดิม ด้วยคะแนนเสียงไม่มากกว่ากึ่งหนึ่ง

  มติ () สภาผู้แทนราษฎร ยืนยันร่างฯ เดิม หรือร่างฯ ของกรรมาธิการร่วม ด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง
() สภาผู้แทนราษฎร ยืนยันร่างฯ เดิม หรือร่างฯ ของกรรมาธิการร่วม ด้วยคะแนนเสียงไม่มากกว่ากึ่งหนึ่ง

  คะแนนเสียง :dr5vtnh

  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สผ ๐๐๐๘ / :vbjsc ลงวันที่ :vdjsc
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา  
  เล่มที่ :vgaze ตอน :vgpar หน้าที่ :vgpaq วันที่ :vgdatr พุทธศักราช :vgyear

การวินิจฉัยร่างพระราชบัญญัติของศาลรัฐธรรมนูญ
  สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรเสนอให้ส่งร่าง :vddis  
  หนังสือส่งร่างพระราชบัญญัติไปยังศาลรัฐธรรมนูญ ที่ :vbksn ลงวันที่ :vbdsn
  ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ :vbdju  
  มติ () ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
() ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
 
  หนังสือแจ้งไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ :vrcju ลงวันที่ :vdrju

สถานภาพของร่างฯ ตกไป