สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (การฟอกเงิน)
หลักการและเหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๓๓ และเพิ่มมาตรา ๓๙ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๔โดยกำหนดให้มีสำนักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ผู้เสนอ
๑. นายอลงกรณ์ พลบุตร ๒. นายจุติ ไกรฤกษ์
๓. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู ๒. คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
๓. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล ๔. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
๕. นายรักษ์ ตันติสุนทร ๖. นายชัยพร ทองประเสริฐ
๗. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๘. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๙. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร ๑๐. นายอิสสระ สมชัย
๑๑. นายวิฑูรย์ นามบุตร ๑๒. นายพรเทพ เตชะไพบูลย์
๑๓. นายสมควร โอบอ้อม ๑๔. นายปรีชา มุสิกุล
๑๕. นายสมชาย สุนทรวัฒน์ ๑๖. นายรำรี มามะ
๑๗. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ ๑๘. นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
๑๙. นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ๒๐. นายชุมพล กาญจนะ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๔๔/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสุภาวดี ตันตระกูล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้มีสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน มีผลให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๐๕๒ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๐๙๑ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๒/๙๗๓๘ ลงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๓๙
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ อยู่ระหว่างการพิจารณาให้คำรับรอง ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา