สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้จัดตั้งกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เพื่อให้นักเรียนและนักศึกษาที่มา จากครอบครัวซึ่งมีรายได้น้อยกู้ยืมเพื่อเป็นค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง กับการศึกษา และค่าใช้จ่าย ที่จำเป็นในการครองชีพระหว่างการศึกษา
ผู้เสนอ
๑. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ๒. นายลำพอง พิลาสมบัติ
๓. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์ ๔. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๕. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก ๖. นางมาลีรัตน์ แก้วก่า
๘. นายพินิจ สิทธิโห
พรรค ชาติพัฒนา
ผู้รับรอง
๑. นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ ๒. นายวิชิต แสงทอง
๓. นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ ๔. นายประเทือง คำประกอบ
๕. นายไชยา พรหมา ๖. นายบุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์
๗. นายอิทธิ ศิริลัทธยากร ๘. นายสุนัย จุลพงศธร
๙. นายประทวน เขียวฤทธิ์ ๑๐. ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์
๑๑. นายรักษ์ ด่านกุล ๑๒. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง
๑๓. พลตำรวจตรี วุฒิ สุโกศล ๑๔. นายยุทธ อังกินันทน์
๑๕. นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ ๑๖. นายประสพ บุษราคัม
๑๗. นายภิญโญ นิโรจน์ ๑๘. นายกร ทัพพะรังสี
๑๙. นายประจวบ ไชยสาส์น ๒๐. นายโสภณ เพชรสว่าง

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๔๒/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายนพคุณ นพรัตน์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้เงินของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาส่วนหนึ่งจากงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน ทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน มาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๐๘๒๙ ลงวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๐๙๒๙ ลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๒/๑๘๔๑๒ ลงวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๓๘
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๒/๕๗๕๙ ลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๓๙
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๓๙
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๓๙
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายขจิตร ชัยนิคม ๒. นายชัยพร ทองประเสริฐ
๓. นายชาญ สุทธิสารากร ๔. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๕. นายถวิล จันทร์ประสงค์ ๖. นายทรงศักดิ์ ทองศรี
๗. นายปราโมทย์ โชติมงคล ๘. นายปรีดี บุญยัง
๙. นางสาวพรทิพย์ จาละ ๑๐. นายพา อักษรเสือ
๑๑. นายไพจิต ศรีวรขาน ๑๒. นางมาลีรัตน์ แก้วก่า
๑๓. นายวิเชียร ขาวขำ ๑๔. นายวิเชียร คันฉ่อง
๑๕. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ๑๖. พลเอกศิริ ทิวะพันธุ์
๑๗. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง ๑๘. นายสมชาย สาดิษฐ์
๑๙. นายสมัย เจริญช่าง ๒๐. นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์
๒๑. นายสุชน ชามพูนท ๒๒. พันตำรวจเอกสุทธี คะสุวรรณ
๒๓. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ ๒๔. นายสุวิทย์ วิสุทธิสิน
๒๕. นายเสริมศักดิ์ การุญ ๒๖. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
๒๗. นายเอกสิทธิ์ ลีละอุปธิกานต์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๑๕๒ ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๓๙
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๓๙

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๒๖/๒๕๓๙ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๓๙
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๔๖๗/๒๕๓๙      ลงวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๓๙

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๓๙
  มติ ( ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หมายเหตุ คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้วที่ประชุมพิจารณาถึงมาตรา ๕๐ ประธานฯสั่งเลื่อนไปประชุมคราวต่อไปและ หลังจากนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา