สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ เนื่องจากบุคลากรภาครัฐขาดความรู้และความเข้าใจในกาดำเนินการต่อสู้คดีในชั้นอนุญาโตตุลาการ จึงสมควรแก้ไขกฎหมาย
ผู้เสนอ
๑. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒. นายจุติ ไกรฤกษ์
๓. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ๔. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๕. นายธนญ ตันติสุนทร ๖. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๗. นายนริศ ขำนุรักษ์ ๘. นายสุวโรช พะลัง
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายธานินทร์ ใจสมุทร ๒. นายเจือ ราชสีห์
๓. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๔. นายอภิชาต การิกาญจน์
๕. นายบุญเติม จันทะวัฒน์ ๖. นายบุญส่ง ไข่เกษ
๗. คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช ๘. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
๙. นายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ ๑๐. นายสาธิต ปิตุเตชะ
๑๑. นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน ๑๒. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๑๓. นายศิริโชค โสภา ๑๔. นายสุวิทย์ เสงี่ยมกุล
๑๕. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๑๖. นายสนั่น สุธากุล
๑๗. นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ ๑๘. นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
๑๙. นางกันตวรรณ กุลจรรยาวิวัฒน์ ๒๐. นางสาวรังสิมา รอดรัศมี

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๔๑/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๗
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางดวงใจ นิไชยโยค  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล กำหนดในเรื่องการเปิดเผยข้อเท็จจริงของบุคคลที่ถูกตั้งเป็นอนุญาโตตุลาการและตัวแทนของผู้พิพาทที่ได้รับมอบหมายต้องสุจริต และศาลสามารถเพิกถอนคำชี้ขาดได้

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๗
    ที่ประชุมพิจารณา
    มติ ( ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

การพิจารณาของร่างฯ รอการพิจารณาในวาระที่ ๑ (สภาผู้แทนราษฎร)