สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการแก้ไขฟื้นฟูเกษตรกร พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขฟื้นฟูเกษตรกร โดยที่เกษตรกรเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการผลิตผลทางเกษตรให้แก่ประเทศ และเป็นพื้นฐานของการเสริมสร้างระบบเศรษฐกิจของประเทศให้มีความมั่นคง ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร แต่ที่ผ่านมาเกษตรกรจำนวนมากอยู่ในภาวะยากจนมีหนี้สินเป็นจำนวนมากไม่เพียงพอแก่การครองชีพ ฉะนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาของประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศจำเป็นต้องกำหนดมาตรการช่วยเหลือที่ถาวรเพื่อให้เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ ซึ่งหากเกษตรกรของ ประเทศสามารถปลดเปลื้องหนี้สิน มีเงินทุนในการประกอบการเกษตรกรรมต่อไป รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาที่ดินของเกษตรกรได้อย่างเป็นระบบแล้ว ย่อมจะทำให้ระบบเศรษฐกิจพื้นฐานของประเทศเข้มแข็งขึ้น และสามารถสร้างความมั่นคงแก่เศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศได้
ผู้เสนอ
๑. นายชิงชัย มงคลธรรม ๒. นายอรรถสิทธิ์ ทรัพยสิทธิ์
๓. นายขจิตร ชัยนิคม ๔. นายสุชาติ ศรีสังข์
๕. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. นายอำนวย คลังผา ๒. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
๓. พลอากาศเอก จรูญ วุฒิกาญจน์ ๔. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๕. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๖. นายเอี่ยม ทองใจสด
๗. นายฉัตรชัย เอียสกุล ๘. นายวิชัย เอี่ยมวงศ์
๙. นายไพศาล จันทรภักดี ๑๐. นายธนเทพ ทิมสุวรรณ
๑๑. นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ ๑๒. นายมานพ จรัสดำรงนิตย์
๑๓. นายมานะ คูสกุล ๑๔. นายกุศล หมีเทศ
๑๕. นายก่ำชุง ประภากรแก้วรัตน์ ๑๖. นายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๔๑/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางบุษกร กสิกร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้กองทุนฟื้นฟูเกษตรกรโดยให้รายได้ของกองทุนส่วนหนึ่งมาจากเงินอุดหนุน ของรัฐบาลและเงินที่รัฐบาลกู้ยืมมา มีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณของแผ่นดิน มาดำเนินการและเป้นการกู้ยืมเงิน

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๙๐๑ ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๘๗๘ ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๑๔๗๐๑ ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๒๐๗๑๖ ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกนก คติการ ๒. นายขจิตร ชัยนิคม
๓. นายชิงชัย มงคลธรรม ๔. นายเชิดชัย มีคำ
๕. นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์ ๖. นายนคร ศรีวิพัฒน์
๗. นายนิพนธ์ ธาราภูมิ ๘. นายเนวิน ชิดชอบ
๙. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก ๑๐. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
๑๑. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ๑๒. นายปัญญา จีนาคำ
๑๓. นายไพจิต ศรีวรขาน ๑๔. นายมานะ มหาสุวีระชัย
๑๕. นางมุกดา พงษ์สมบัติ ๑๖. นายวินัย เสนเนียม
๑๗. นายสนิท กุลเจริญ ๑๘. นายสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์
๑๙. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร ๒๐. นายสวัสดิ์ คำวงษา
๒๑. นายสุชาติ ศรีสังข์ ๒๒. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๒๓. นายอลงกรณ์ พลบุตร ๒๔. นายอวยชัย วะทา
๒๕. นายอโศก ประสานสอน ๒๖. นายอำนวย ปะติเส
๒๗. นายอุบลศักดิ์ บัวหลวงงาม
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๕๓ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๓๑/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๔๑/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายชิงชัย  มงคลธรรม (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๖๕/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายประชาธิปไตย  คำสิงห์นอก (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๓๒/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายวินัย  เสนเนียม (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๔๗/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายประเทือง  วิจารณ์ปรีชา (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๔๑๘ ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๒/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๒๔/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๓/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นางวัชรี สินธวานุวัฒน์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๐ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางกรองแก้ว อัศวชิน ๒. นายกิรินทร์ ชัชวาลวงศ์
๓. นายทองดี นิคงรัมย์ ๔. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์
๕. คุณหญิงนิรมล สุริยสัตย์ ๖. นายนิวัฒน์ พ้นชั่ว
๗. นายเนวิน ชิดชอบ ๘. นายบุญมี จันทรวงศ์
๙. นายพชร ยุติธรรมดำรง ๑๐. นายพินิต อารยะศิริ
๑๑. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๑๒. นายภิรมย์ ศรีจันทร์
๑๓. นายสมพล เกียรติไพบูลย์ ๑๔. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย
๑๕. นายสุธรรม วิชชุไตรภพ ๑๖. นางสาวสุพัตรา ธนเสนีวัฒน์
๑๗. นายสุรศักดิ์ นาคสวัสดิ์ ๑๘. นายสุวรรณ ปัญญาภาส
๑๙. นางอรนุช โอสถานนท์ ๒๐. นายอำนาจ สอนอิ่มสาตร์

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๔๐๐ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๒๓) ลงวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๐๐๗๕๒ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๐๐๗๕๒ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๒๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย