สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดที่อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้จัดตั้งศาลจังหวัดขึ้นที่อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ให้มีเขตตลอด ท้องที่ อำเภอเขมราฐอำเภอกุดข้าวปุ้น อำเภอโพธิ์ไทร และกิ่งอำเภอนาตาล ใน จังหวัดอุบลราชธานี
ผู้เสนอ
๑. นายอิสสระ สมชัย ๒. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๓. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ ๔. นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ
๕. นายเกรียง กัลป์ตินันท์
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู ๒. นายอลงกรณ์ พลบุตร
๓. นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี ๔. นายโกวิทย์ ธารณา
๕. นายรักษ์ ตันติสุนทร ๖. นายสุวโรช พะลัง
๗. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๘. นายวิเชียร คันฉ่อง
๙. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล ๑๐. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๑๑. นายสมควร โอบอ้อม ๑๒. นายตรีพล เจาะจิตต์
๑๓. นายถาวร กาสมสัน ๑๔. นายวิทยา แก้วภราดัย
๑๕. นายสมชาย สุนทรวัฒน์ ๑๖. นายชัยพร ทองประเสริฐ
๑๗. นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า ๑๘. นายสมศักดิ์ แสงเจริญรัตน์
๑๙. นายฉลาด ขามช่วง ๒๐. นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๔๑/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นใหม่ทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณของมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๔๕๘ ลงวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๕๐๐ ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๒/๘๙๒๓ ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๓๙
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ อยู่ระหว่างการพิจารณาให้คำรับรอง ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา