สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เป็นการแก้ไขการลงโทษเพื่อให้ครอบคลุมถึงผู้กระทำผิดตามอนุสัญญาด้วย
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๒๕๙๔ ลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๔
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๓๘/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๔
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสุภาวดี ตันตระกูล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการแก้ไขบทลงโทษไม่กระทบต่องบประมาณแผ่นดิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๔๔
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๔๔
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงานขององค์การห้ามอาวุธเคมี พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกริช กงเพชร ๒. นายกฤษณ์ กาญจนกุญชร
๓. นายกอบศักดิ์ ชุติกุล ๔. นางสาวกัญญา สินสกุล
๕. นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร ๖. นางจริยา เจียมวิจิตร
๗. นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร ๘. นายเจริญ คันธวงศ์
๙. นายเจะอามิง โตะตาหยง ๑๐. นายชวาล ชวณิชย์
๑๑. นายณรงค์กร ชวาลสันตติ ๑๒. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
๑๓. นายธราพงษ์ สีลาวงษ์ ๑๔. นายธีระชัย เตียวเจริญโสภา
๑๕. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๖. นายนิมิตร นนทพันธาวาทย์
๑๗. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ ๑๘. นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์
๑๙. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล ๒๐. นางประไพพรรณ เส็งประเสริฐ
๒๑. นายประสานต์ บุญมี ๒๒. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ
๒๓. นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ ๒๔. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล
๒๕. นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา ๒๖. นายรณฤทธิชัย คานเขต
๒๗. พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ ๒๘. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย
๒๙. นายศิริโชค โสภา ๓๐. นายสมศักดิ์ สิงหลกะ
๓๑. นายสาธิต ปิตุเตชะ ๓๒. ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร
๓๓. รองศาสตราจารย์สุธาบดี สัตตบุศย์ ๓๔. พลเอกสุธี จรูญพร
๓๕. นายอำนาย คลังผา
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๑๐๗ ลงวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๔๔
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๔๔
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๔
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๖๓/๒๕๔๔      ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๔

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๔
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๔
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๗๙๐ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๔๔

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๘/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๔๔
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๐๙/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๔๔
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๘/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๔๔

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( / ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๐๓๙๙๙ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๔

กรณีวุฒิสภาเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๐๓๙๙๙ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๔
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๙๓๘๒/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๔
  แจ้งที่ประชุมทราบ :vmehp
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๙๘๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๔
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๘ ตอน ๑๐๖ก หน้าที่ - วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ พุทธศักราช ๒๕๔๔

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย