สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (ข้าราชการประเภทต่าง ๆ รับราชการต่อจนถึงอายุ ๖๕ ปี)
หลักการและเหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ โดยแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๑ และมาตรา ๓๑ และเพิ่มมาตรา ๑๙ ทวิ เพื่อให้ข้าราชการประเภทต่าง ๆ รับราชการต่อไป จนอายุครบ ๖๕ ปีบริบูรณ์
ผู้เสนอ
๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๒. นายปัญจะ เกสรทอง
๓. นายประสพ บุษราคัม
พรรค ชาติพัฒนา
ผู้รับรอง
๑. นายประวัฒน์ อุตตะโมต ๒. นายประทวน เขียวฤทธิ์
๓. นายบุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์ ๔. นายยรรยง ร่วมพัฒนา
๕. นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ ๖. นางอรดี สุทธศรี
๗. นางสาวคมคาย เฟื่องประยูร ๘. นายลำพอง พิลาสมบัติ
๙. พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก ๑๐. นายรักษ์ ด่านกุล
๑๑. นายยุทธ อังกินันทน์ ๑๒. นายสุนัย จุลพงศธร
๑๓. นายสมาน ภุมมะกาญจนะ ๑๔. นายพินิจ สิทธิโห
๑๕. นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ ๑๖. นายสุชน ชามพูนท
๑๗. นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ๑๘. นายประเทือง คำประกอบ
๑๙. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๒๐. นายประจวบ ไชยสาส์น
๒๑. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๓๘/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายนพคุณ นพรัตน์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐต้องจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๒๔๗ ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๑๓๘ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๒/๗๔๓๙ ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๓๙
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ อยู่ระหว่างการพิจารณาให้คำรับรอง ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา