สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ปรับปรุงกฎหมายพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ทั้งฉบับ เพื่อให้ฝ่ายนายจ้าง และลูกจ้าง มีสิทธิหน้าที่ในขอบเขตที่เหมาะสม
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๑๔/๘๔๕๔ ลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๓๕/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิมล กสิบุตร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล ไม่กระทบงบประมาณของแผ่นดิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๘
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๘
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเจริญ คันธวงศ์ ๒. นายเจริญ จรรย์โกมล
๓. นายชัย ชิดชอบ ๔. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์
๕. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๖. นายเทิดภูมิ ใจดี
๗. นายธานินทร์ ใจสมุทร ๘. นายบุญเทียน ค้ำชู
๙. นายประสงค์ ศรีวัฒน์ ๑๐. นายพงษ์ศักดิ์ เปล่งแสง
๑๑. นายไพฑูรย์ แก้วทอง ๑๒. นางมณีมัย วุฒิธรเนติรักษ์
๑๓. ร้อยตรียงยุทธ บุณยะประภัศร ๑๔. นายยุทธ อังกินันทน์
๑๕. นายระวี กิ่งคำวงศ์ ๑๖. นายรักเกียรติ สุขธนะ
๑๗. นายรังสฤษฏ์ จันทรัตน์ ๑๘. นายวัฒนะ เอี่ยมบำรุง
๑๙. นายวิชิต แสงทอง ๒๐. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๒๑. นายสนาน บุญงอก ๒๒. นายสมบูรณ์ ทรัพย์สาร
๒๓. นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม ๒๔. นายสมศักดิ์ โกศัยสุข
๒๕. นายสำเร็จ อัจฉริยะประสิทธิ์ ๒๖. นายสุชาติ ศรีสังข์
๒๗. นายอาคม เอ่งฉ้วน
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๒๑ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๘
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๓๘

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๓๕/๒๕๓๘ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๓๘
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๑๓๓/๒๕๓๘      ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๓๘

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ มีนาคม ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๓๙
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๑๒๔ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๙

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ลงวันที่
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ลงวันที่
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๕/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๙

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๙
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๖ คน
  คณะกรรมาธิการการบริหารและการยุติธรรม
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๓๙
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันศุกร์ที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันศุกร์ที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๙
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๕๑ ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๙

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๕๑ ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๙
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๖๔๘๓/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๙
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๔ กันยายน ๒๕๓๙  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๔ กันยายน ๒๕๓๙  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๗ คน
  คณะกรรมาธิการร่วมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. .... (ฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร)
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายเจริญ คันธวงศ์ ๒. นายเจริญ จรรย์โกมล
๓. นายชัย ชิดชอบ ๔. นายเทิดภูมิ ใจดี
๕. นายธานินทร์ ใจสมุทร ๖. นายประสงค์ รณะนันทน์
๗. นายพงษ์ศักดิ์ เปล่งแสง ๘. นายรังสฤษฏ์ จันทรัตน์
๙. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๑๐. ว่าที่เรือโทวัลลภ ยังตรง
๑๑. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๑๒. นายวิชิต แสงทอง
๑๓. นายวิเชียร ขาวขำ ๑๔. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๑๕. นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ ๑๖. นางอรดี สุทธศรี
๑๗. นายอาคม เอ่งฉ้วน

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๘๔๐ ลงวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๓๙
  วุฒิสภารับที่ ๑๒๘/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๓๙

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ตอน หน้าที่ วันที่ พุทธศักราช

หมายเหตุ อยู่ระหว่างการตั้งกรรมาธิการร่วมกันระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา