สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ ....
หลักการและเหตุผล ยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจรติและประพฤติมิชอบในวงราชการ พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๐ และพระราบัญญัติการแสดงสินทรัพย์และหนี้สินของ สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๙ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีอำนาจหน้าที่กำหนดตำแหน่งเจ้าหน้าที่ในการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน หามาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตต่อหน้าที่ เสนอความเห็นต่อนายกรัฐมนตรี รวมถึงอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ กำหนดหลักเกณฑ์กระบวนการไต่สวน การพิจารณา และการวินิจฉัยของคระกรรมการ ป.ป.ช. การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การถอดถอนออกจากตำแหน่ง ทุจริตต่อหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และผู้ที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งร่างพระราชบัญญัตินี้ต้องมีผลบังคับใช้ ภายในสองปี ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
ผู้เสนอ
๑. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ๒. นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล
๓. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง ๔. นายปัญจะ เกสรทอง
๕. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๖. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
๗. นายชาญชัย ปทุมารักษ์ ๘. นายทศพร เสรีรักษ์
๙. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์ ๑๐. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
๑๑. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา ๑๒. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
๑๓. นายวิรัช รัตนเศรษฐ ๑๔. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา
๑๕. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร ๑๖. นายจองชัย เที่ยงธรรม
๑๗. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ ๑๘. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๑๙. นายสนธยา คุณปลื้ม ๒๐. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๒๙/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสินี ส้มมี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้มีสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และ เลขาธิการคณะกรรมการมีหน้าที่ควบคุมดูแลราชการของสำนักงาน ให้คณะกรรมการ ดังกล่าวมีอำนาจวางหลักเกณฑ์การจ้าง ค่าจ้าง ในการปฏิบัติงาน และการได้รับค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์ของผู้ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติตามหน้าที่ มีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๖๘๐ ลงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๗๔๘ ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๑๑๕๖๒ ลงวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องให้ผู้เสนอทราบ(ในกรณีปิดสมัยประชุม) ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๑๓๒
    ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๓๐๙๐ ลงวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
สถานภาพของร่างฯ ผู้เสนอขอถอน
เหตุผลของการขอถอนร่าง นำกลับไปปรับปรุงเพื่อให้มีประสิทธฺภาพยิ่งขึ้น