สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๐๔ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และสอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าของกิจการสถานพยาบาลปัจจุบัน และมีการกำหนดอัตรา ค่าธรรมเนียมขึ้นใหม่ ทำให้รัฐมีรายรับเพิ่มขึ้น
ผู้เสนอ
๑. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
พรรค ชาติพัฒนา
ผู้รับรอง
๑. นายปิยะ ปิตุเตชะ ๒. นายภิญโญ นิโรจน์
๓. นายพินิจ สิทธิโห ๔. นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม
๕. นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ ๖. พลตำรวจตรี วุฒิ สุโกศล
๗. นายยุทธ อังกินันทน์ ๘. นายประวัฒน์ อุตตะโมต
๙. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๑๐. นายประทวน เขียวฤทธิ์
๑๑. นายทวีศักดิ์ สุภาศรี ๑๒. นายยรรยง ร่วมพัฒนา
๑๓. นางสาวคมคาย เฟื่องประยูร ๑๔. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์
๑๕. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๑๖. นายสุรพล เกียรติไชยากร
๑๗. นางมาลีรัตน์ แก้วก่า ๑๘. นางรัตนา จงสุทธนามณี
๑๙. นายลำพอง พิลาสมบัติ ๒๐. นายประสิทธิ์ จันทาทอง

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๒๘/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล มีการกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมขึ้นใหม่

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๐๒๒๐ ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๐๒๒๖ ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๒/๑๗๑๕๓ ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๓๘
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๒/๘๑๑๐ ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๙
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๓๙
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๓๙
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ๒. นายชัยพร ทองประเสริฐ
๓. นาวาโทเดชา สุขารมณ์ ๔. นายถาวร กาสมสัน
๕. นายทรงยศ ชัยชนะ ๖. นายทศพร สังขทรัพย์
๗. นางิภา พริ้งศุลกะ ๘. นายบุญเทียม เขมาภิรัตน์
๙. นายปรีชา มุสิกุล ๑๐. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ
๑๑. นายไพศาล จันทรภักดี ๑๒. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
๑๓. นายมนัส ธุวนลิน ๑๔. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๑๕. ว่าที่เรือโทวัลลภ ยังตรง ๑๖. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๑๗. นายวิชัย โชควิรัตน ๑๘. ศาสตราจารย์วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์
๑๙. นายศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ ๒๐. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๒๑. ศาสตราจารย์มศักดิ์ วรคามิน ๒๒. นายสรอรรถ กลิ่นประทุม
๒๓. นายสำราญ อาบสุวรรณ ๒๔. นายสุภกร บัวสาย
๒๕. นายอมร เปรมกมล ๒๖. นายอร่าม อามระดิษ
๒๗. ร้อยตรีอัชพร จารุจินดา
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๓๗ ลงวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๓๙
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๓๙

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๔๖/๒๕๓๙ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๓๙
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๔๐๗๔/๒๕๓๙      ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๓๙

หมายเหตุ คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้วระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา