สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๘ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พ.ศ.๒๕๓๕
หลักการและเหตุผล ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒ ของพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.๒๕๓๕เพื่อเป็นการขยายเวลาการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.๒๕๓๕ ออกไปโดยให้พระราชบัญญัติดังกล่าวมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๕ เมษายน ๒๕๓๖
ผู้เสนอ
๑. นายอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ ๒. นายนิพนธ์ วสิษฐยุทธศาสตร์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายชัชวาลย์ ชมภูแดง ๒. นายไพศาล จันทรภักดี
๓. นาวาโท เดชา สุขารมณ์ ๔. นายสวัสดิ์ คำประกอบ
๕. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๖. นายเรวัต สิรินุกุล
๗. นายชัย ชิดชอบ ๘. นายเจริญ จรรย์โกมล
๙. นายศิลป์ชัย นุ้ยปรี ๑๐. นายณรงค์เลิศ สุรพล
๑๑. นายก่ำชุง ประภากรแก้วรัตน์ ๑๒. นายประกิจ พลเดช
๑๓. นางพวงเล็ก บุญเชียง ๑๔. นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์
๑๕. นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล ๑๖. นายเชาวลิต สุขสวัสดิ์
๑๗. นายทรงศักดิ์ ทองศรี ๑๘. นายชูชาติ หาญสวัสดิ์
๑๙. นายสมชาย สาดิษฐ์ ๒๐. นายสรอรรถ กลิ่นประทุม

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๓๕
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๒๖/๒๕๓๕ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๓๕
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายนิติ วิวัฒน์วานิช  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐไม่ต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๓๕
    ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๓๕
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( / ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน

 
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๓๕
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่      ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๖๙๙ ลงวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๓๕

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย