สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๗ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล จัดตั้งสภาเภสัชกรรมขึ้นทำหน้าที่ควบคุมการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมแทนคณะกรรมการควบคุม การประกอบโรคศิลปะ รายได้ส่วนหนึ่งได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตต่างๆ
ผู้เสนอ
๑. นายกุศล หมีเทศ ๒. นายประวัติ ทองสมบูรณ์
๓. นายชูชัย มุ่งเจริญพร ๔. นายสุวิทย์ คุณกิตติ
พรรค กิจสังคม
ผู้รับรอง
๑. นายศุภพรพงศ์ ชวนบุญ ๒. นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร
๓. นายสำเร็จ ภูนิคม ๔. นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
๕. นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร ๖. นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์
๗. พลตำรวจตรี วุฒิ สุโกศล ๘. นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์
๙. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๐. นายสง่า วัชราภรณ์
๑๑. นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ๑๒. นายรักเกียรติ สุขธนะ
๑๓. นายธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ ๑๔.
๑๕. นายดุสิต โสภิตชา ๑๖. นายวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์
๑๗. นายระวี หิรัญโชติ ๑๘. นายธำรงค์ ไทยมงคล
๑๙. นายอร่าม อามระดิษ ๒๐. นายสมศักดิ์ เทพสุทิน

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๓๕
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๒๔/๒๕๓๕ ลงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๓๕
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล สภาเภสัชกรรมมีฐานะเป็นนิติบุคคลมิใช่ส่วนราชการ ฉะนั้นรายได้จึงต้องนำส่งคลัง ไม่ทำให้ รัฐต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาของร่างฯ รอการพิจารณาในวาระที่ ๑ (สภาผู้แทนราษฎร)