สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานบุคคลในคดีอาญา พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพยานบุคคลในคดีอาญาให้มีสิทธิได้รับความคุ้มครอง การปฏิบัติที่เหมาะสมและได้รับค่าตอบแทนจากรัฐตามสมควร
ผู้เสนอ
๑. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๒. นายนคร มาฉิม
๓. นายสุวโรช พะลัง ๔. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายไพศาล จันทวารา ๒. นายอภิชาต การิกาญจน์
๓. นายวินัย เสนเนียม ๔. นายนริศ ขำนุรักษ์
๕. นายธีระ สลักเพชร ๖. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
๗. นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ ๘. นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
๙. นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร ๑๐. นายเชน เทือกสุบรรณ
๑๑. นายสาธิต ปิตุเตชะ ๑๒. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๑๓. นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์ ๑๔. นางกันตวรรณ กุลจรรยาวิวัฒน์
๑๕. นายอาคม เอ่งฉ้วน ๑๖. นายเรวัต สิรินุกุล
๑๗. นายเจริญ คันธวงศ์ ๑๘. ร้อยตำรวจเอก พเยาว์ พูลธรัตน์
๑๙. นายวิรัช ร่มเย็น ๒๐. นายนิพนธ์ บุญญามณี

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๔
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๒๓/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๔
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางดวงใจ นิไชยโยค  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การที่พยานได้ให้ความต่อศาลแล้วมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนและค่าเลี้ยงชีพมีผลทำให้รัฐ ต้องจ่ายเงินงบประมาณของแผ่นดินตามรัฐธรรมนูญมาตรตรา ๑๖๙(๒)

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๒๘๗ ลงวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๔
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๒๗๖ ลงวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๔
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๓๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๓๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ ๒. รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ
๓. นายนคร มาฉิม ๔. พันตำรวจโทนฤชา สุวรรณลาภา
๕. นายนัจมุดดีน อูมา ๖. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๗. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๘. นายประชุม ทองมี
๙. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ ๑๐. นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
๑๑. นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา ๑๒. นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา
๑๓. นายไพศาล จันทวารา ๑๔. นางสาวรัตนาวดี สมบูรณ์
๑๕. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๑๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๑๗. นายวันชัย สอนศิริ ๑๘. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๑๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒๐. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
๒๑. นายศักดา วะสมบัติ ๒๒. นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ
๒๓. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์ ๒๔. นายสราวุธ เบญจกุล
๒๕. นายสาธิต ปิตุเตชะ ๒๖. นายสามารถ แก้วมีชัย
๒๗. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ ๒๘. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๙. นายสุรชัย พันธุมาศ ๓๐. นายสุวโรช พะลัง
๓๑. นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล ๓๒. นายอรรถพล สนิทวงศ์ชัย
๓๓. นายเอกธนัช อินทร์รอด ๓๔. นายเอกภาพ พลซื่อ
๓๕. นายโอภาส อาจารวงศ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว.๕๑๗ ลงวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๔
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๒๐๘/๒๕๔๔ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๒๓/๒๕๔๔ ผู้เสนอ นายสุทัศน์  เงินหมื่น (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๒๑๐/๒๕๔๔ ผู้เสนอ นายสุรสิทธิ์  นิติวุฒิวรรักษ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๒๑๓/๒๕๔๔ ผู้เสนอ นายปิติพงศ์  เต็มเจริญ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๕
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๗๔๓๐/๒๕๔๕      ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๕

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง)
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๕
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๕
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๕๑๖ ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๖
  หนังสือแจ้งผลการปฎิบัติการตามข้อสังเกตจากเลขาธิการ ที่ นร ๐๕๐๓/๗๔๘๓ ลงวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๔๖

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๘๑๙๖ ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๔๕

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๙/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๔๕
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๒๔/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๔๕
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๔/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๔๕

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๔๗๗๔ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๕

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๔๗๗๔ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๕
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๔๔/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๕
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๕  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๒ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. พันตำรวจโท นฤชา สุวรรณลาภา ๒. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๓. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๔. นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา
๕. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๖. นายไพศาล จันทรภักดี
๗. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๘. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๙. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์ ๑๐. นายสามารถ แก้วมีชัย
๑๑. นายสุรชัย พันธุมาศ ๑๒. นายเอกภาพ พลซื่อ

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๑๒๘๓ ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๕
  วุฒิสภารับที่ ลงวันที่

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๖  
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๒๐๔๖/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๖

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๖
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๔๑๐๓ ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๔๖

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๐๙๒ ลงวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๕๑๕ ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๖
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๒๐ ตอน ๕๘ก หน้าที่ - วันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๖ พุทธศักราช ๒๕๔๖

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย