สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง จำเป็นต้องมีวิธีพิจารณาพิพากษา เป็นพิเศษและต้องมีตุลาการที่มีความรู้ความเข้าใจและมีความเชี่ยวชาญในปัญหาด้านการบริหารและ การปกครองเป็นการเฉพาะ ซึ่งสามารถถูกตรวจสอบได้ทั้งจากฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และประชาชน ทั่วไป และเพื่อเป็นการคุ้มครองประโยชน์ของประชาชน กระบวนการพิจารณาคดีปกครองจึงควรเป็นไป โดยประหยัด สะดวกและรวดเร็ว แต่ไม่เป็นการขัดขวาง หรือเป็นอุปสรรคแก่การบริหารราชการแผ่นดิน โดยไม่สมควร โดยหน่วยงานธุรการของศาลปกครองยังต้องมีความเป็นอิสระด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นไปตาม เจตนารมย์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ผู้เสนอ
๑. นายปรีชา สุวรรณทัต ๒. นายถวิล ไพรสณฑ์
๓. นายวิเชียร คันฉ่อง ๔. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๕. นายทิวา เงินยวง
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายวินัย เสนเนียม ๒. นายปัญญา จีนาคำ
๓. นายวิทยา สุขิตานนท์ ๔. นายรักษ์ ตันติสุนทร
๕. นายถาวร กาสมสัน ๖. นายธวัช วิชัยดิษฐ
๗. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล ๘. นางสาวรัตนา อนันต์นาคินทร์
๙. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู ๑๐. นายเสริมศักดิ์ การุญ
๑๑. นายโกวิทย์ ธารณา ๑๒. นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี
๑๓. พันตำรวจโท เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง ๑๔. นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
๑๕. นายเอกพจน์ ปานแย้ม ๑๖. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
๑๗. นายปรีชา มุสิกุล ๑๘. นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
๑๙. นายประกอบ จิรกิติ ๒๐. นายเธียร มโนหรทัต

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๒๑/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายเสกสรร เพ็ญจันทร์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การจัดตั้งศาลปกครองตามร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีผลให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณของแผ่นดินมาดำเนินการ ทั้งต้องมีการจัดตั้งหน่วยงานอันมีผลให้ต้องมีงบประมาณรายจ่ายเพิ่มขึ้น

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๙๙๗ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๗๗๒ ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๕๑๑๖ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๑
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง รับหลักการ ๒๐๒ ไม่รับหลักการ ๑ ไม่ลงคะแนน ๒

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. รองศาสตราจารย์กมลชัย รัตนสกาววงศ์ ๒. พลเอก กิตติ รัตนฉายา
๓. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๔. นายจิรนิติ หะวานนท์
๕. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๖. นายเชาวน์วัศ สุดลาภา
๗. นายทิวา เงินยวง ๘. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๙. นายประกิจ พลเดช ๑๐. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
๑๑. นายปรีชา สุวรรณทัต ๑๒. นายพินิจ จันทรสุรินทร์
๑๓. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๑๔. นายพูลผล อัศวเหม
๑๕. นายโภคิน พลกุล ๑๖. นายมานะ คูสกุล
๑๗. ศาสตราจารย์ มารุต บุนนาค ๑๘. นายวรพจน์ วิศรุตพิชญ์
๑๙. นายวิชิต แสงทอง ๒๐. นายวิเชียร คันฉ่อง
๒๑. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ๒๒. นายสมัย เจริญช่าง
๒๓. นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ ๒๔. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๕. นายเสกสรร แสนภูมิ ๒๖. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
๒๗. นายเอกพร รักความสุข
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๐๕ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ ๑๕ วัน สิ้นสุดวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๖/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๓๑/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายพินิจ  จันทรสุรินทร์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๘/๒๕๔๐ ผู้เสนอ ร้อยโท กุเทพ  ใสกระจ่าง (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๒๑/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายปรีชา  สุวรรณทัต (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สผ ๐๐๑๗.๑๓/๒๓๙๔      ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๖๗๖ ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๗/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๓๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๒๐/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๖ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกมลชัย รัตนสกาววงศ์ ๒. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓. นายโกวิท วรพิพัฒน์ ๔. นายจรัญ ภักดีธนากุล
๕. พลเอก จรัล กุลละวณิชย์ ๖. นายชัยเชต สุนทรพิพิธ
๗. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๘. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร
๙. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ๑๐. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
๑๑. นายพชร ยุติธรรมดำรง ๑๒. นายพินิต อารยะศิริ
๑๓. นายพูนศักดิ์ วรรณพงษ์ ๑๔. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๑๕. นายไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล ๑๖. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
๑๗. นายวิชัย พรหมศิลป์ ๑๘. นายวิษณุ เครืองาม
๑๙. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ ๒๐. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ
๒๑. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๒๒. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห
๒๓. นายอรุณ ภาณุพงศ์ ๒๔. นายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ
๒๕. นายอักขราทรอักขราทร จุฬารัตน ๒๖. นายอารีย์ วงศ์อารยะ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๖๐๘ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๗๐) ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๖๑๙ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๖๑๙ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๓๐/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย