สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล กำหนดให้สำนักงานคณะกรรมการ ป.ป.ป. เป็นหน่วยงานอิสระขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ผู้เสนอ
๑. นายบัญญัติ บรรทัดฐาน ๒. นายอาคม เอ่งฉ้วน
๓. นายมะรีเป็ง จะปะกิยา ๔. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายสมัย เจริญช่าง ๒. นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
๓. นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ ๔. นายวิทยา แก้วภราดัย
๕. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๖. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
๗. นายธานินทร์ ใจสมุทร ๘. นายถาวร เสนเนียม
๙. พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ ๑๐. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๑๑. นายวินัย เสนเนียม ๑๒. นายรักษ์ ตันติสุนทร
๑๓. นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี ๑๔. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
๑๕. นายนิพิฎฐ์ อินทรสมบัติ ๑๖. นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
๑๗. นายวิรัช ร่มเย็น ๑๘. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
๑๙. นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ ๒๐. นายไสว พัฒโน

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๒๑/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวสุภัตรา วรวุฒิธีรกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ ขอถอน เนื่องจากผู้เสนอจะนำไปปรับปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
สถานภาพของร่างฯ ผู้เสนอขอถอน