สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เพื่อปรับปรุงกฎหมายเดิมให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน โดยเพิ่มโทษ ผู้กระทำผิดและให้การสงเคราะห์คุ้มครองผู้ค้าประเวณีแทนการลงโทษและ จัด ให้มีสถานสงเคราะห์ เพื่อให้การสงเคราะห์แก่ผู้รับสงเคราะห์
ผู้เสนอ
๑. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ ๒. คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
๓. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร ๔. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๕. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู ๖. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายอาคม เอ่งฉ้วน ๒. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล
๓. นายมะรีเป็ง จะปะกิยา ๔. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๕. นายสุวโรช พะลัง ๖.
๗. นายวิรัช ร่มเย็น ๘. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๙. นายศิริศักดิ์ อ่อนละมัย ๑๐. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๑๑. นายอภิชาติ การิกาญจน์ ๑๒. นายชัยพร ทองประเสริฐ
๑๓. นายสนั่น สุธากุล ๑๔. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
๑๕. นายประชา โพธิพิพิธ ๑๖. นายตรีพล เจาะจิตต์
๑๗. นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า ๑๘. นายวิเชียร คันฉ่อง
๑๙. พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ ๒๐. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
๒๑. นายชุมพล กาญจนะ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๒๐/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายธวัช ขันธวิทย์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การจัดตั้งสำนักงานคระกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพขึ้นใน กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เป็นการจัดตั้ง หน่วยงาน อันมีผลให้ต้องมีงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินเพิ่มขึ้น

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๐๑๙๐ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๐๑๓๓ ลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๒/๑๖๘๘๓ ลงวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๓๘
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๒/๑๘๓๕๗ ลงวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๓๘
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๓๘
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๓๘
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางคมคาย เฟื่องประยูร ๒. นายจรัญ ภักดีธนากุล
๓. คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร ๔. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
๕. นายทรงธรรม ปัญญาดี ๖. นางิภา พริ้งศุลกะ
๗. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ ๘. นายพิศาล มูลศาสตรสาทร
๙. นายโภคิน พลกุล ๑๐. นางมะยุรา อุระเคนทร์
๑๑. นางมาลดี วสีนนท์ ๑๒. นางมาลีรัตน์ แก้วก่า
๑๓. นางเย็นจิตต์ รพีพัฒน์ ณ อยุธยา ๑๔. นางรัตนา จงสุทธนามณี
๑๕. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ ๑๖. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๑๗. นางศรีนวล ศรีตรัย ๑๘. นางสาวศันสนีย์ นาคพงศ์
๑๙. นายศุภพรพงศ์ ชวนบุญ ๒๐. ว่าที่ร้อยเอกสรชาติ สุวรรณพรหม
๒๑. นายสรยุทธ์ กันตะยา ๒๒. นายสฤษฏ์ อึ้งอภินันท์
๒๓. นางสุกัญญา นาชัยเวียง ๒๔. พันตำรวจเอกสุรศักดิ์ สุทธารมณ์
๒๕. นายอนุชิต เจริญผล ๒๖. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
๒๗. นายอำพล สิงหโกวินท์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๔๐ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๘
  กำหนดแปรญัตติ ๑๕ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๘
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๐๑/๒๕๓๘ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่      ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ มีนาคม ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๓๙
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๙๐๓ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๓๙

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๑๒๓ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๙

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๔/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๙
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๘๑/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๙
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๔/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๙

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๙
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน
  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๙
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันศุกร์ที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันศุกร์ที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๓๙
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๔๕ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๓๙

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๔๕ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๓๙
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๕๕๖๖/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๓๙
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๙  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๙  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๒๐ คน
  คณะกรรมาธิการร่วมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. .... (ฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร)
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นางสาวคมคาย เฟื่องประยูร ๒. นายจรัญ ภักดีธนากุล
๓. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ ๔. นายทรงธรรม ปัญญาดี
๕. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์ ๖. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๗. นายประวัติ ทองสมบูรณ์ ๘. นายประสงค์ บูรณ์พงศ์
๙. นางปวีณา หงสกุล ๑๐. นายไพฑูรย์ พลซื่อ
๑๑. นางมาลีรัตน์ แก้วก่า ๑๒. คุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ
๑๓. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ ๑๔. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๑๕. นางวิไล จ๋วงพานิช ๑๖. นางศรีนวล ศรีตรัย
๑๗. นางสาวศันสนีย์ นาคพงศ์ ๑๘. นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์
๑๙. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๒๐. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๒๓ ลงวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙
  วุฒิสภารับที่ ๑๐๒/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๗๕๔ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๓๙

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๒๐ สิงหาคม ๒๕๓๙  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( / ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๓๕๖๖/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๓๙

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๓๙  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๔ กันยายน ๒๕๓๙
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๗๘๔๕ ลงวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๓๙

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันศุกร์ที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๓๙  
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันศุกร์ที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๓๙
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๓๑๑๘ ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๓๙

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๘๐๐๒ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๓๙
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๓ ตอน ๕๔ ก หน้าที่ - วันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๓๙ พุทธศักราช ๒๕๓๙

หมายเหตุ เป็นกฎหมาย
สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย