สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติค่าทดแทนสำหรับผู้ถูกดำเนินคดีอาญา พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เพื่อให้มีกฎหมายกำหนดวิธีการจ่ายค่าทดแทนสำหรับผู้ถูกดำเนินคดีอาญา เพื่อเป็นการ คุ้มครองสิทธิของจำเลยที่ถูกคุมขังระหว่างการพิจารณาคดี แต่ภายหลังมีคำพิพากษาถึงที่สุด ว่ามิได้เป็นผู้กระทำผิด จึงสมควรกำหนดให้มีวิธีการจ่ายค่าทดแทนสำหรับผู้ถูกดำเนินคดี อาญาขึ้นโดยให้มีคระกรรมการขึ้นชุดหนึ่ง เพื่อพิจารราจ่ายค่าทดแทนแก่บุคคลเหล่านั้น ตามบทบัญญัติมาตรา ๒๔๖ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐
ผู้เสนอ
๑. นายนพดล ปัทมะ ๒. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๓. นายปัญญา จีนาคำ ๔. นายสืบแสง พรหมบุญ
๕. นายประกอบ จิรกิติ ๖. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๗. นายจุติ ไกรฤกษ์
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายยงยุทธ ติยะไพรัช ๒. นายโกวิทย์ ธารณา
๓. นายปรีชา มุสิกุล ๔. นายรำรี มามะ
๕. นายไพร พัฒโน ๖. นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
๗. นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ ๘. นายสนั่น สุธากุล
๙. นายเจะอามิง โตะตาหยง ๑๐. นายปรีชา สุวรรณทัต
๑๑. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๒. นายตรีพล เจาะจิตต์
๑๓. นายวิเชียร คันฉ่อง ๑๔. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา
๑๕. นางคมคาย พลบุตร ๑๖. นายเสริมศักดิ์ การุญ
๑๗. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๑๘. นายธีระ สลักเพชร
๑๙. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู ๒๐. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๑๙/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิมล กสิบุตร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้มีคณะกรรมการกำหนดค่าทดแทนสำหรับผู้ถูกดำเนินคดีอาญา โดยกรรมการ และอนุกรรมการได้รับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มีการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการกำหนดค่า ทดแทนสำหรับผู้ถูกดำเนินคดีอาญา และการจ่ายเงินค่าทดแทนให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับค่า ทดแทนให้จ่ายจากงบกลาง มีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๐๕๗ ลงวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๑๔๔ ลงวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๖๕๑๔ ลงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องให้ผู้เสนอทราบ(ในกรณีปิดสมัยประชุม) ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๕๖๓
    ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๑๕๗๖๗ ลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๔๓
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๓
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๓
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๑ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายคัมภีร์ แก้วเจริญ
๓. นายชัย ชิดชอบ ๔. นายนพดล ปัทมะ
๕. รองศาสตราจารย์นเรศร์ เกษะประกร ๖. นายบัณฑิต รชตะนันทน์
๗. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ ๘. นายพูลผล อัศวเหม
๙. นายรุ่งโรจน์ รักวงศ์ ๑๐. นายรุจิระ บุนนาค
๑๑. พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ ๑๒. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๑๓. นายวิรัช ร่มเย็น ๑๔. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๑๕. นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ ๑๖. นายสรรค์ชัย ชญานิน
๑๗. พลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์ ๑๘. นางสุกัญญา นาชัยเวียง
๑๙. นายสุกรี เอื้ออนันต์ ๒๐. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๑. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๒๘ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๓
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๓
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๓๓/๒๕๔๓ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๙/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายนพดล  ปัทมะ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๘๙๗/๒๕๔๓      ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๓

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๙๘๑ ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๓

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๔๒/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๓
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๓๙/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๓
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) s๐๔๘/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๓
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๓
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์


การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา