สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เนื่องจากพระราชบัญญัติการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. ๒๔๘๕ ได้ใช้มานาน มีบทบัญญัติที่ไม่ สอดคล้องกับสถานการณ์และระบบการเงินในปัจจุบัน มีความจำเป็นต้องกำหนดมาตรการในการกำกับ ดูแลการเคลื่อนไหวและการประกอบธุรกจเกี่ยวกับปัจจัยชำระเงินต่างประเทศให้เหมาะสม
ผู้เสนอ
๑. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา ๒. นายชาญชัย ปทุมารักษ์
๓. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
๓. นายเรวัต สิรินุกุล ๔. นายทศพร เสรีรักษ์
๕. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ๖. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา
๗. นายประภัตร โพธสุธน ๘. นายวิทยา คุณปลื้ม
๙. นางสาวพูนสุข โลหะโชติ ๑๐. นายสนธยา คุณปลื้ม
๑๑. นายสง่า ธนสงวนวงศ์ ๑๒. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
๑๓. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ๑๔. นายวีระพล อดิเรกสาร
๑๕. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ ๑๖. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๑๗. นายนิยม วรปัญญา ๑๘. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
๑๙. นายจองชัย เที่ยงธรรม ๒๐. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๑๔/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐไม่จำต้องจัดสรรเงินงบประมาณมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
    ที่ประชุมพิจารณา
    มติ ( ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา