สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เป็นการยกร่างกฎหมายขึ้นมาใหม่เกี่ยวกับข้อตกลงเฉพาะคู่สัญญา เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม โดยถือเอาการแสดงเจตนาเป็นหลักเพราะผู้มีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจเหนือกว่าถือโอกาสเอารัด เอาเปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งและกำหนดสัญญาที่ไม่เป็นธรรมขึ้น ข้อตกลงที่ไม่เป็นธรรมที่เสนอมา ใหม่นี้ กำหนดผลบังคับให้เหมาะสม และเป็นธรรมในการบังคับใช้รวมทั้งกำหนดข้อจำกัดสิทธิหรือ เสรีภาพ ในการประกอบอาชีพ หรือนิติกรรมที่ไม่เป็นโมฆะ กำหนดมาตรการ ให้ศาลใช้ดุลยพินิจ ให้ผลของสัญญามีผลบังคับเพียงเท่าที่เป็นธรรม และสมควรแก่กรณีในมาตรา ๑๕ กำหนด ให้กระทรวงยุติธรรมจะต้องออกระเบียบค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าพาหนะเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ให้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญที่ศาลขอให้มาให้ความเห็น
ผู้เสนอ
๑. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒. นายเรวัต สิรินุกุล
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายทศพร เสรีรักษ์ ๒. นาวาโท เดชา สุขารมณ์
๓. นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล ๔. นายวิรัช รัตนเศรษฐ
๕. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๖. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
๗. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร ๘. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
๙. นายสง่า ธนสงวนวงศ์ ๑๐. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
๑๑. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๒. นายปัญจะ เกสรทอง
๑๓. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา ๑๔. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
๑๕. นายวีระพล อดิเรกสาร ๑๖. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ
๑๗. นายนิยม วรปัญญา ๑๘. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
๑๙. นายชาญชัย ปทุมารักษ์ ๒๐. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๑๔/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวมงคลรัตน์ ผลสิริ  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้กระทรวงยุติธรรมออกระเบียบค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าพาหนะ เดินทาง และค่าเช่าที่พักให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญที่ศาลขอมาให้ความเห็นมีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๕๓๗ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๕๔๓ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๘๑๒ ลงวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๐
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง เอกฉันท์

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นายกู้เกียรติ สุนทรบุระ
๓. นายขจิตร ชัยนิคม ๔. นายจรัญ ภักดีธนากุล
๕. นายชัย ชิดชอบ ๖. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๗. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ ๘. นายทิวา เงินยวง
๙. นายนพดล ปัทมะ ๑๐. นายประกอบ จิรกิติ
๑๑. นายประทีป กรีฑาเวช ๑๒. นายปรีชา สุวรรณทัต
๑๓. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๑๔. นายมุข สุไลมาน
๑๕. นายเรวัต สิรินุกุล ๑๖. นายวิชัย เอี่ยมวงศ์
๑๗. นายวิฑูรย์ นามบุตร ๑๘. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๑๙. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรค ๒๐. นายศุภชัย ภู่งาม
๒๑. นายสงวน ลิ่วมโนมนต์ ๒๒. นายสมชาย เบญจรงคกุล
๒๓. นายสุชน ชามพูนท ๒๔. นายสุวโรช พะลัง
๒๕. นายอภิชัย ตรังคิณีนาถ ๒๖. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
๒๗. นายเอี่ยม ทองใจสด
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว๖๕ ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ ๑๕ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๒๑/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๔/๒๕๓๙ ผู้เสนอ พลตำรวจโท วิโรจน์  เปาอินทร์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๒/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายสุวโรช  พะลัง (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๖๕/๒๕๔๐ ผู้เสนอ ร้อยโท กุเทพ  ใสกระจ่าง (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๒๗๓๐/๒๕๔๐      ลงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ
  คะแนนเสียง เอกฉันท์

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๖๗๕ ลงวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๐

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๒๑/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๐
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๑๗๔/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๐
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๙/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๐
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๐
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๐
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๕ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกิรินทร์ ชัชวาลวงศ์ ๒. นางกีระณา สุมาวงศ์
๓. นายกู้เกียรติ สุนทรบุระ ๔. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๕. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๖. นายชัยเชต สุนทรพิพิธ
๗. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์ ๘. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
๙. นายเผ่าเทพ อุปการนิติเกษตร ๑๐. นายพูนศักดิ์ วรรณพงษ์
๑๑. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๑๒. นายรัตน์ ศรีไกรวิน
๑๓. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร ๑๔. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
๑๕. นายวิษณุ เครืองาม ๑๖. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ
๑๗. พลเอก ศิรินทร์ ธูปกล่ำ ๑๘. นายศุภชัย ภู่งาม
๑๙. นายสงวน ลิ่วมโนมนต์ ๒๐. พลอากาศเอก สมศักดิ์ เวสุวรรณ์
๒๑. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ ๒๒. พลเรือโท สำราญ อ่ำสำอางค์
๒๓. นายสุชาติ ไตรประสิทธิ์ ๒๔. นายอรุณ ภาณุพงศ์
๒๕. นายอุดล บุญประกอบ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๙๙๑ ลงวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๐
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว๐๐๐๙/ร๕๓ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๔๙๙ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๑๘ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๑๘ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๔๑/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๐  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๐  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

หมายเหตุ เป็นกฎหมาย
สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย