สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เนื่องจากธนาคารแห่งประเทศไทย มีหน้าที่ควบคุมธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงิน เพื่อให้เกิดความ มั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ เมื่อผู้ทำหน้าที่ไม่ปฏิบัติตามหน้าที่หรือจงใจละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ ทำให้เกิดความเสียหายขึ้นแก่ประชาชน ธนาคารหรือสถาบันการเงินหรือปฏิบัติหน้าที่โดยไม่สุจริต ควรจะได้รับโทษตามกฎหมาย
ผู้เสนอ
๑. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา ๒. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
๓. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๔. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๕. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช ๖. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา
๗. นายวิทยา คุณปลื้ม ๘. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
๙. นางสาวพูนสุข โลหะโชติ ๑๐. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์
๑๑. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ ๑๒. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๑๓. นายนิยม วรปัญญา ๑๔. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๑๕. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ๑๖. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
๑๗. นายทศพร เสรีรักษ์ ๑๘. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๑๙. นายสนธยา คุณปลื้ม ๒๐. นายเรวัต สิรินุกุล

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๓
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๑๐/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๓
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายสมพงษ์ รัตณะวรรณ  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐไม่ต้องจัดสรรเงินงบประมาณมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
    ที่ประชุมพิจารณา
    มติ ( ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา