สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน พ.ศ ....
หลักการและเหตุผล ปรับปรุงประกาศของคณะปฏิวัติที่เกี่ยวกับการสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก เพื่อจัดทำเป็นพระราชบัญญัติสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน จึงจำเป็นต้องยุบเลิกประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕ และประกาศ ของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๔ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งใช้บังคับมานานประกอบกับสาระสำคัญและวิธีการสงเคราะห์ และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน ไม่สอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน สมควรตราพระราชบัญญัตินี้ โดยกำหนดหลักการวิธีการ และขั้นตอนในการสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชนให้มีความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญมุ่งให้การพัฒนาสงเคราะห์ฟื้นฟูและ คุ้มครองสวัสดิภาพ ด้วยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้เพื่อให้เด็กและเยาวชน ได้รับการพัฒนารอบด้านในทางที่เหมาะสมตามวัยตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ และอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
ผู้เสนอ
๑. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๒. นายสืบแสง พรหมบุญ
๓. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร ๔. นางคมคาย พลบุตร
๕. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๖. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ ๒. นายธีระ สลักเพชร
๓. นางสาวรัตนา อนันต์นาคินทร์ ๔. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล
๕. นายสมศักดิ์ แสงเจริญรัตน์ ๖. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล
๗. นายรำรี มามะ ๘. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
๙. นายสมชาย สุนทรวัฒน์ ๑๐. นายเธียร มโนหรทัต
๑๑. นายธวัชชัย สัจจกุล ๑๒. นายธวัช วิชัยดิษฐ
๑๓. นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ ๑๔. นายสมัย เจริญช่าง
๑๕. นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ ๑๖. นายเอกพจน์ ปานแย้ม
๑๗. นายเจริญ คันธวงศ์ ๑๘. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๑๙. นายเจะอามิง โตะตาหยง ๒๐. นายวิชัย ตันศิริ
๒๑. นายวินัย เสนเนียม

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๐๙/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิรัตน์ โกศล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้มีกองทุนสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพและจัดตั้งสถาบันวิจัยและส่งเสริม สวัสดิภาพเด็กและเยาวชน มีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๗๓๐ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๗๓๗ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๕๒๔๕ ลงวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องให้ผู้เสนอทราบ(ในกรณีปิดสมัยประชุม) ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๕๐๒
    ลงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๑๒๖๖๘ ลงวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๔๓
                 ( ) รับรอง    ( / ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๒๘๙ ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๓

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
สถานภาพของร่างฯ นายกรัฐมนตรีไม่ให้คำรับรอง