สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ คำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ที่ให้ศาลพลเรือนเป็นศาลทหารในเวลาไม่ปกติ และ ที่ให้ศาลทหารพิจารณาคดีซึ่งเกี่ยวกับความผิดอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ คำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๑๗ ฉบับ ที่ให้ศาลพลเรือนทำหน้าที่เป็นศาลทหารในเวลาไม่ปกติและที่ให้ศาลทหารพิจารณาคดีซึ่งเกี่ยวกับความผิดอันเป็นคอมมิวนิสต์
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๑๔/๒๖๔๒ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๐๙/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการแก้ไขยกเลิกกฎหมายให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ มีนาคม ๒๕๓๙
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๓๙
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( / ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน

 
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๓๙
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่      ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๓๙
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๕๘๓ ลงวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๓๙

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๗๑๗ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๓๙

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๓/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๓๙
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๖๕/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๓๙
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๓/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๓๙

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๙
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( / ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  คณะกรรมาธิการการศึกษาและวัฒนธรรม
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๓๙
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๙
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๕๖๐ ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๙

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๕๖๐ ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๙
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๓๘๑๓/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๓๙
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๓๙  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๓๙  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

หมายเหตุ เป็นกฎหมาย
สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย