สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ประเทศไทยมีการแพทย์พื้นบ้านหรือการแพทย์แผนโบราณกระจายทั่วประเทศ ซึ่งได้มีการจารึกเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นตำราคัมภีร์ใบลาน มีการเรียนสืบต่อกันมาภายในครอบครัวหรือระหว่างครูกับลูกศิษย์ องค์ความรู้ทางการแพทย์เหล่านี้มีความเชื่อพื้นฐานมาจากทฤษฎีที่ว่า สุขภาพสมบูรณ์ได้ด้วยการสมดุลของธาตุทั้งสี่ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ และโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดจาก ธรรมชาติ การรักษาจึงมุ่งเน้นที่การแก้สมดุลของธาตุทั้งสี่ด้วยการใช้สมุนไพร การอบตัวด้วยไอน้ำที่ต้มด้วยสมุนไพร การประคบและการนวดไทย รวมทั้งพิธีกรรมอื่น ๆ เพื่อปรับสมดุลทางจิต รวมทั้งสุขภาพทางจิตอันเกิดจากศีล สมาธิ และปัญญาที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ที่ทำลายความสมดุลของธาตุทั้งสี่ จึงสมควรสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคคล ชุมชน หรือองค์กรเอกชนได้สืบทอดการใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ทางการแพทย์ดั้งเดิม ให้ได้รับ การพัฒนายกระดับองค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย รวมทั้งให้มีการคุ้มครอง สมุนไพรที่จะนำมาใช้ประโยชน์และพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้ดียิ่งขึ้น
ผู้เสนอ
๑. นายทศพร เสรีรักษ์ ๒. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ ๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๓. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา ๔. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๕. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา ๖. นายวาสิต พยัคฆบุตร
๗. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ๘. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ
๙. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๑๐. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์
๑๑. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ๑๒. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
๑๓. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๑๔. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๑๕. นายนิยม วรปัญญา ๑๖. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
๑๗. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๑๘. นายวีระพล อดิเรกสาร
๑๙. นาวาโท เดชา สุขารมณ์ ๒๐. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ

เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๐๘/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสุภาวดี ตันตระกูล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยมีรายได้ส่วนหนึ่งมาจากเงินอุดหนุนของรัฐบาล มีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาเพื่อดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๕๐๑ ลงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๕๐๘ ลงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๔๕๘๒ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๑
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญทั่วไป ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๒๒๐๙๒ ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๒
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางคมคาย พลบุตร ๒. นายจรัล ตฤณวุฒิพงษ์
๓. นายจักริน วงศ์กุลฤดี ๔. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
๕. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๖. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๗. นายชัย ชิดชอบ ๘. นาวาโท เดชา สุขารมณ์
๙. นายถาวร กาสมสัน ๑๐. นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย
๑๑. นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย ๑๒. นายทศพร มูลศาสตรสาทร
๑๓. นายทศพร เสรีรักษ์ ๑๔. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๑๕. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ ๑๖. นายพิษณุ พลไวย์
๑๗. นางสาวเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ ๑๘. นายมงคล ณ สงขลา
๑๙. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล ๒๐. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๒๑. นายวีระกร คำประกอบ ๒๒. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู
๒๓. นายสุชาตื ศรีวรกร ๒๔. นายสุนัย จุลพงศธร
๒๕. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์ ๒๖. นายอร่าม อามระดิษ
๒๗. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๕๘ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๕๒/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๘/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายทศพร  เสรีรักษ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๓๖/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นางศิริวรรณ  ปราศจากศัตรู (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๗/๒๕๔๒ ผู้เสนอ นายจำลอง  ครุฑขุนทด (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๑๕/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๙๕๙ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๓๙/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๙๗/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๔๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๕ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกร ทัพพะรังสี ๒. นายเกษม วัฒนชัย
๓. พลเรือเอก เกาะหลัก เจริญรุกข์ ๔. นายจรัล ตฤณวุฒิพงษ์
๕. นายจักริน วงศ์กุลฤดี ๖. พลเรือโท จุมพล หงส์ทอง
๗. นายบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ๘. นายบุญอรรถ สายศร
๙. นายประยุทธ มหากิจศิริ ๑๐. นายประสพ รัตนากร
๑๑. พลเรือเอก พัฒนพงษ์ ศรีเพ็ญ ๑๒. นายพินิต อารยะศิริ
๑๓. นางสาวเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ ๑๔. นายไพโรจน์ นิงสานนท์
๑๕. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๑๖. นายมงคล ณ สงขลา
๑๗. นายวัฒนา รัตนวิจิตร ๑๘. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์
๑๙. พลเรือตรี วิทุร แสงสิงแก้ว ๒๐. นางสาวศรีสว่าง พั่ววงศ์แพทย์
๒๑. นายสิปปนนท์ เกตุทัต ๒๒. นายโสภณ สุภาพงษ์
๒๓. นายอรุณ เผ่าสวัสดิ์ ๒๔. นายอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๒๕. นายอาซิส เบ็ญหาวัน

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๑๖๗๑ ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๑๐๙) ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๑๖๗ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๑๖๓ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๑๖๓ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๓๒๗/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย