สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการตอบโต้การ ทุ่มตลาดและการอุดหนุน ซึ่งสินค้าจากต่างประเทศ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน ซึ่งสินค้าจากต่าง ประเทศโดยที่พระราชบัญญัติป้องกันการทุ่มตลาด พ.ศ. ๒๕๐๗ ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลา นานแล้ว บทบัญญัติของ พระราชบัญญัติดังกล่าวบางประการไม่เหมาะสมกับการขยายตัว และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและการค้าของ ประเทศไม่มีหลักการเรื่อง การตอบโต้การอุดหนุนซึ่งสินค้า จากต่างประเทศที่นำเข้ามายังประเทศไทย และไม่สอด คล้อง กับข้อตกลงระหว่างประเทศที่บังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน สมควรบัญญัติ กฎหมายขึ้นใหม่ ให้มีมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินค้าจากต่างประเทศที่นำเข้ามาใน ประเทศ เพื่อคุ้มครอง อุตสาหกรรมภายในประเทศและให้สอดคล้องกับข้อตกลง ระหว่าง ประเทศด้วย
ผู้เสนอ
๑. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๒. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายสง่า ธนสงวนวงศ์ ๒. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๓. นาวาโท เดชา สุขารมณ์ ๔. นายเรวัต สิรินุกุล
๕. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ๖. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๗. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ ๘. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๙. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๐. นายวิทยา คุณปลื้ม
๑๑. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร ๑๒. นายทศพร เสรีรักษ์
๑๓. นายวีระพล อดิเรกสาร ๑๔. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์
๑๕. นายวิรัช รัตนเศรษฐ ๑๖. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
๑๗. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ๑๘. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ
๑๙. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ ๒๐. นายชุมพล ศิลปอาชา

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๐๖/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การจัดตั้งกองทุนตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน โดยส่วนหนึ่งของ กองทุนประกอบด้วยเงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้และเงินอุดหนุนจากรัฐบาล มีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณมาดำเนินการ และ การเรียกเก็บอากรชั่วคราวหรือหลักประกันการชำระอากรชั่วคราว โดยให้ส่งเข้ากองทุนเป็นการเปลี่ยนแปลงแก้ไขเกี่ยวกับอากร

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๕๓๙ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๕๔๓ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๓๙
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๔๕ ลงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๔๐
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๒๘๘๑ ลงวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง รับหลักการ ๒๑๘ ไม่รับหลักการ ๒

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินค้าจากต่างประเทส พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ ๒. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๓. นายขจิตร ชัยนิคม ๔. นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย
๕. นายชัย ชิดชอบ ๖. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์
๗. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๘. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
๙. นายทิวา เงินยวง ๑๐. นางบุญทิพา สิมะสกุล
๑๑. นายประวิช นิลวัชรมณี ๑๒. นายประสพ บุษราคัม
๑๓. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๑๔. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๑๕. นายไพฑูรย์ แก้วทอง ๑๖. นายยรรยง พวงราช
๑๗. นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี ๑๘. นายวิทยา แก้วภราดัย
๑๙. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ ๒๐. นายวีระกร คำประกอบ
๒๑. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง ๒๒. นายสมบูรณ์ ธราสุวรรณ
๒๓. นายสมพร อัศวเหม ๒๔. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ
๒๕. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล ๒๖. ศาสตราจารย์สุรศักดิ์ นานานุกูล
๒๗. รองศาสตราจารย์อนันต์ จันทรโอภากร
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๕๑ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๒๘/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๖/๒๕๓๙ ผู้เสนอ นายชาญศักดิ์  ชวลิตนิติธรรม (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๘๐/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายวิเชษฐ์  เกษมทองศรี (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๕๐๑๖/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๕๘๘ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๓๓/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๓๖๑/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๓๗/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๑
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสราวุธ สุธราพันธ์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๕ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินค้าจากต่างประเทศ พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายจิรายุทธ์ วสุรัตน์
๓. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๔. นายชุมสาย หัสดิน
๕. นายโชคชัย อักษรนันท์ ๖. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์
๗. คุณหญิงนิรมล สุริยสัตย์ ๘. นางบุญทิพา สิมะสกุล
๙. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ๑๐. นายไพฑูรย์ แก้วทอง
๑๑. นายยรรยง พวงราช ๑๒. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
๑๓. พลเอก ศิรินทร์ ธูปกล่ำ ๑๔. นายสมพล เกียรติไพบูลย์
๑๕. นายสมาน โอภาสวงศ์ ๑๖. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ
๑๗. นายสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง ๑๘. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย
๑๙. นายสุเทพ วงศ์วรเศรษฐ ๒๐. นายสุธรรม จิตรานุเคราะห์
๒๑. นายอนันต์ จันทรโอภากร ๒๒. นางอรนุช โอสถานนท์
๒๓. นายอรัญ ธรรมโน ๒๔. นางอรัญญา สุจนิล
๒๕. นายอรุณ ภาณุพงศ์

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร๑๑๐) ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๑
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๓๐๔๖ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๑

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๓๐๔๖ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๑
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๔๕๒/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๑
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย