สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันการค้าขายระหว่างประเทศได้มีการแข่งขันกันอย่างมากการสนับสนุนและส่งเสริมการส่งออก จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ด้วย เหตุนี้จึงสมควรกำหนดให้มีการจัดตั้งเขตปลอดอากรขึ้น
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๖๖๓ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๓
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๐๔/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๓
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๓
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๓
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกฤติกา ปั้นประเสริฐ ๒. นายไกรสิทธิ์ ไกรสิทธิพงศ์
๓. นายชุมพล กาญจนะ ๔. ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง
๕. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๖. นายต่อพงษ์ พุทธบูชา
๗. นายทรงพล โกวิทศิริกุล ๘. นายธนา ชีรวินิจ
๙. นายธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ ๑๐. นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
๑๑. นายพงษ์อุดม ตรีสุขี ๑๒. นายพิชัย หาญตะล่อม
๑๓. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล ๑๔. นางสาวเพ็ญจิรา คันธวงศ์
๑๕. นายไพร พัฒโน ๑๖. นายไพโรจน์ มินเด็น
๑๗. นายมหรรณพ เดชวิทักษ์ ๑๘. นายวรพงษ์ อัศวเหม
๑๙. นายวันชัย ภาววิมล ๒๐. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๒๑. นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ ๒๒. นายสถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์
๒๓. นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ ๒๔. นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์
๒๕. นายสุพล เนยปฏิมานนท์ ๒๖. นายอภิพันธุ์ กิตติเวช
๒๗. นายอมรเทพ เศตะพราหมณ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๒๓ ลงวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๓
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๓

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๒๙๑๘/๒๕๔๓      ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๓

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๕๕๕ ลงวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๓

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๔/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๓
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๒๐/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๓
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) s๐๓๐/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๓
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๓
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสุชาติ เวณุพุกกะณะ

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๑ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางกฤติกา ปั้นประเสริฐ ๒. นายเกษม มาลัยศรี
๓. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ ๔. นายชวาล มหาสุวีระชัย
๕. พลตำรวจโท ณรงค์ อมาตยกุล ๖. นายนิรัตน์ อยู่ภักดี
๗. นายนิเวศ พันธ์เจริญวรกุล ๘. นางพัฒนา ศิริวันสาณฑ์
๙. นายพิชัย หาญตะล่อม ๑๐. นายไพบูลย์ อุปัติศฤงค์
๑๑. นายไพโรจน์ มินเด็น ๑๒. นายภิญญา ช่วยปลอด
๑๓. นายวิชิต พูลลาภ ๑๔. นายสถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์
๑๕. นายสวัสดิภาพ กันทาธรรม ๑๖. นายสันติ์ เทพมณี
๑๗. นางสำรวย แขวัฒนะ ๑๘. นายสุชน ชาลีเครือ
๑๙. นายสุรใจ ศิรินุพงศ์ ๒๐. นายสุรชัย ดนัยตั้งตระกูล
๒๑. ร้อยตรี อำนวย ไทยานนท์

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๒๔๑๑ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๓
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๓

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๒๒) ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๓

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๑๖ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๓

กรณีวุฒิสภาเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๑๖ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๓
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๘๕๗๕/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๓
  แจ้งที่ประชุมทราบ :vmehp
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๙๐๘ ลงวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๔๓
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๗ ตอน ๑๐๘ หน้าที่ - วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ พุทธศักราช ๒๕๔๓

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย