สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เนื่องจากในปัจจุบันได้ปรากฏว่ามีการกระทำความผิดโดยการซื้อ ขาย จำหน่าย ชักพา หรือจัดหาบุคคล ไปด้วยวิธีการใดๆ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสนองความใคร่แก่ตนเองหรือผู้อื่น เพื่อการลามกอนาจาร หรือ เพื่อประโยชน์อย่างอื่นอันมิชอบ ทั้งนี้ด้วยวิธีการอันคุกคามและกระทบ กระเทือนต่อสวัสดิภาพของบุคคล ดังกล่าว และการกระทำดังกล่าวไม่จำกัดเฉพาะการกระทำต่อหญิงและเด็กเท่านั้น ยังกระทำในลักษณะ ทำนองเดียวกันนี้กับเด็กชายอีกด้วย จึงสมควรยกเลิกพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการค้าหญิงและเด็กหญิง พ.ศ. ๒๕๗๑ และปรับปรุงแก้ไข กฎหมายดังกล่าวขึ้นใหม่
ผู้เสนอ
๑. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร ๒. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๓. คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ ๔. นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
๕. นายประกอบ จิรกิติ ๖. นายสมัย เจริญช่าง
๗. นางนิภา พริ้งศุลกะ
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายไพร พัฒโน ๒. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
๓. นายสุวโรช พะลัง ๔. นายเธียร มโนหรทัต
๕. นายถวิล ไพรสณฑ์ ๖. นายประเสริฐ มงคลศิริ
๗. นายธวัชชัย สัจจกุล ๘. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
๙. นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ๑๐. นายธวัช วิชัยดิษฐ
๑๑. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๑๒. นายสืบแสง พรหมบุญ
๑๓. นายทิวา เงินยวง ๑๔. นายอรรคพล สรสุรชาติ
๑๕. นายทิวา เงินยวง ๑๖. นายวิชัย ตันศิริ
๑๗. นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี ๑๘. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๑๙. นายจุติ ไกรฤกษ์ ๒๐. นายรำรี มามะ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๐๔/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิมล กสิบุตร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการปรับปรุงกฎหมายโดยการเพิ่มโทษและวิธีปฏิบัติเพื่อการสงเคราะห์ เด็กและหญิง ไม่กระทบ งบประมาณรายจ่ายแผ่นดิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง เอกฉันท์

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติมาตราการในการป้องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกฤษฎาง แถวโสภา ๒. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
๓. นางกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ ๔. นางคมคาย พลบุตร
๕. พลตำรวจตรี จงรัก จุฑานนท์ ๖. คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร
๗. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ ๘. นางดวงกลม นิธิอุทัย
๙. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๑๐. ร้อยตรี นุกูล ธนิกุล
๑๑. นายบุญเกิด หิรัญคำ ๑๒. นายประกิต สนธิรัตน
๑๓. นางสาวพูนสุข โลหะโชติ ๑๔. นายภูมิ สาระผล
๑๕. นางมยุรา มนะสิการ ๑๖. นางมยุรา อุรเคนทร์
๑๗. นางมาลีรัตน์ แก้วก่า ๑๘. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๙. นางสาวรัตนา อนันต์นาคินทร์ ๒๐. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์
๒๑. นายวัลลภ พลอยทับทิม ๒๒. พลตำรวจตรี วุฒิ สุโกศล
๒๓. นางสาวศันสนีย์ นาคพงศ์ ๒๔. พลตำรวจตรี ศิริพงษ์ สรรพตานนท์
๒๕. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๒๖. นายสุพล ฟองงาม
๒๗. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๔๗ ลงวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๒๗๐๘/๒๕๔๐      ลงวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ
  คะแนนเสียง เอกฉันท์

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๔๓๔ ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๔๐

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ลงวันที่
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ลงวันที่
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๗/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๔๐
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๐
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสุชาติ เวณุพุกกะณะ

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน
  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมาตรการในการป้องกันและปราบ ปรามการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางกรองแก้ว อัศวชิน ๒. นางกีระณา สุมาวงศ์
๓. พลตำรวจตรี จงรัก จุฑานนท์ ๔. นายชัยฤกษ์ ดิษฐอำนาจ
๕. พันตำรวจเอก ทวีพร นามเสถียร ๖. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์
๗. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๘. นายประมาณ ชันซื่อ
๙. พลตำรวจตรี เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ ๑๐. นายไพบูลย์ ช่างเรียน
๑๑. นายรังสรรค์ แสงสุข ๑๒. นายลิขิต เทอดสถีรศักดิ์
๑๓. พลตำรวจตรี วชิระ ทองวิเศษ ๑๔. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์
๑๕. นางสาวศรีสว่าง พั่ววงศ์แพทย์ ๑๖. พลตำรวจตรี ศิริพงษ์ สรรพตานนท์
๑๗. พลตำรวจโท สมควร หริกุล ๑๘. นายสมชัย วุฑฒิปรีชา
๑๙. นางสุรี จุติกุล ๒๐. นายสุวรรณ ปัญญาภาส
๒๑. คุณหญิงสุวัฒนา เพชรทองคำ ๒๒. นายอมร จันทรสมบูรณ์
๒๓. นายอักขราทร จุฬารัตน ๒๔. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
๒๕. พันเอกหญิง อัสนีย์ เสาวภาพ ๒๖. นายเอี่ยม ฉายางาม
๒๗. นายโอสถ โกศิน

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ๐๐๐๙/(ร๕๐) ลงวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันศุกร์ที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  มติ ( ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( / ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๔๙๘ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๔๙๖ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๔๙๖ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๓๙/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๔๐
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๐  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๐  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

หมายเหตุ เป็นกฎหมาย
สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย