สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๗ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล จัดตั้งสภาเภสัชกรรมขึ้นทำหน้าที่ควบคุมการประกอบวิชาชีพเวชกรรมแทนคณะกรรมการควบคุม การประกอบโรคศิลปะ รายได้ส่วนหนึ่งได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตต่างๆ
ผู้เสนอ
๑. นายปรีชา มุสิกุล ๒. นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์
๓. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๔. นายชัยพร ทองประเสริฐ
๕. นายถาวร กาสมสัน ๖. นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
๗. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายณรงค์ นุ่นทอง ๒. นายทวี สุระบาล
๓. นายศิริศักดิ์ อ่อนละมัย ๔. นายวิเชียร คันฉ่อง
๕. นายไสว พัฒโน ๖. นายอาคม เอ่งฉ้วน
๗. นายบัญญัติ บรรทัดฐาน ๘. นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
๙. นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี ๑๐. คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
๑๑. นายวิฑูรย์ นามบุตร ๑๒. นายองุ่น สุทธิวงศ์
๑๓. นายชุมพล กาญจนะ ๑๔. นายอภิชาติ ตรีสวัสดิชัย
๑๕. นายไชยา พรหมา ๑๖. นายประวิช นิลวัชรมณี
๑๗. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๑๘. นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
๑๙. นายไชยยศ จิรเมธากร ๒๐. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
๒๑. นายอภิชาติ การิกาญจน์ ๒๒. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๓๕
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๐๔/๒๕๓๕ ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๓๕
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล สภาเภสัชกรรมมีฐานะเป็นนิติบุคคลมิใช่ส่วนราชการ ฉะนั้นรายได้จึงมิต้องส่งคลังไม่ทำให้ รัฐต้อง จัดสรรงบประมาณแผ่นดินมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาของร่างฯ รอการพิจารณาในวาระที่ ๑ (สภาผู้แทนราษฎร)