สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๗ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล แยกการควบคุมการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมออกจากอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการควบคุม การประกอบโรคศิลปะ โดยจัดตั้งสภาเภสัชกรรมขึ้นเพื่อทำหน้าที่ควบคุมการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
ผู้เสนอ
๑. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
พรรค พลังธรรม
ผู้รับรอง
๑. พลเรือเอก ศิริ ศิริรังษี ๒. พันเอก ชินวุธ สุนทรสีมะ
๓. นายอุดมศิลป์ ศรีแสงนาม ๔. นายถวิล จันทร์ประสงค์
๕. นายเดชา สามารถ ๖. นายสุทิน นพเกตุ
๗. นายอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ๘. นายเสริม หลักสุวรรณ
๙. นายประพันธ์ หุตะสิงห์ ๑๐. นายปัญญา สุดสวงค์
๑๑. นายเธียร มโนหรทัต ๑๒. นายสมุทร มงคลกิติ
๑๓. นางพิมพา จันทร์ประสงค์ ๑๔. นายอุดมเดช รัตนเสถียร
๑๕. นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธ์ ๑๖. พันเอก วินัย สมพงษ์
๑๗. นางเครือวัลย์ สมณะ ๑๘. นายธเนศร์ พรพิพัฒน์พงศ์
๑๙. นายสมพัฒน์ กัลยาวินัย ๒๐. นายสุธา ชันแสง
๒๑. นายแสวง ฤกษ์จรัล ๒๒. นายไชยวัฒน์ มฤคพิทักษ์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๓๕
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๐๒/๒๕๓๕ ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๓๕
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล ในครั้งแรกประธานฯ วินิจฉัยว่าเป็นร่าง พ.ร.บ.เกี่ยวด้วยการเงิน และต่อมาได้มีการพิจารณา ทบทวนใหม่ว่าไม่เป็นร่าง พ.ร.บ. เกี่ยวด้วยการเงิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ ตกไปเพราะยุบสภา
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา